สำนักงานราชบัณฑิตยสภา
11 สั นทั ด ศิ ริ อนั นต์ไพบูลย์, แทนตา จั นทร์วุ่น, เปี่ยมศั กดิ์ เมนะเศวต วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๘ ฉบับที่ ๓ ก.ค.-ก.ย. ๒๕๕๖ ข้อดีของบึงประดิษฐ์ประเภทนี้คือดูแลรักษาง่าย ใช้พลังงานในการเดินระบบน้อย สามารถรับภาระสาร อินทรีย์ได้มากกว่าระบบบึงประดิษฐ์ที่น�้ ำไหลท่วมผิวชั้นกรองอย่างอิสระ และเป็นระบบที่น�้ ำเสียไหลอยู่ใน ดินหรือชั้นกรอง สามารถป้องกันการเกิดแมลงหรือสัตว์ที่ผิวของบึงประดิษฐ์และป้องกันการแพร่กระจาย จุลินทรีย์ต่าง ๆ โดยเฉพาะจุลินทรีย์ที่ท� ำให้เกิดโรค สู่สิ่งแวดล้อมได้ ข้อเสียของบึงประดิษฐ์ที่น�้ ำไหลใต้ผิว ชั้นกรองคือมีค่าก่อสร้างที่สูงกว่าบึงประดิษฐ์ที่น�้ ำไหลท่วมผิวชั้นกรองอย่างอิสระ เพราะต้องค� ำนึงถึง ชั้นกรองและระบบท่อที่จะใช้ภายในระบบ และต้องค� ำนึงถึงกระบวนการไนทริฟิเคชัน (nitrification) ที่ เกิดขึ้นได้ยากในภาวะที่มีออกซิเจนละลายน�้ ำต�่ ำหรือไร้ออกซิเจน ดังนั้น หากน�้ ำเสียที่เข้าสู่ระบบมีปริมาณ ไนโตรเจนสูง จะต้องมีระยะเวลากักเก็บที่นานขึ้นเพื่อป้องกันการเกิดภาวะไร้อากาศ รูปที่ ๒ บึงประดิษฐ์ที่น�้ ำไหลใต้ผิวดินชั้นกรองในแนวนอน (Subsurface flow systems: SF) (ระบบบ� ำบัดน�้ ำเสียแบบบึงประดิษฐ์ ๒๕๕๕) ตารางที่ ๒ เกณฑ์การออกแบบระบบบึงประดิษฐ์ที่น�้ ำไหลใต้ผิวดินหรือชั้นกรอง (Subsurface flow systems: SFS หรือ Vegetated submerged bed system: VSB) (ระบบบ� ำบัดน�้ ำเสียแบบบึงประดิษฐ์ ๒๕๕๕) เกณฑ์การออกแบบ (Design Criteria) พารามิเตอร์ ค่าที่ใช้ออกแบบ Area Loading Rate กรณีที่ต้องการค่า BOD ของน�้ ำทิ้ง ๒๐ มก./ล. ๑.๖ ก./ตร.ม.-วัน กรณีที่ต้องการค่า BOD ของน�้ ำทิ้ง ๓๐ มก./ล. ๖.๐ ก./ตร.ม.-วัน กรณีที่ต้องการค่า TSS ของน�้ ำทิ้ง ๓๐ มก./ล. ๒๐ ก./ตร.ม.-วัน ความลึก (เมตร) ๐.๕-๐.๖ เมตร ตัวกลาง (Media) ๐.๔-๐.๕ เมตร
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=