สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

บึ งประดิ ษฐ์กั บการบ� ำบั ดน�้ ำเสี ย 10 The Journal of the Royal Institute of Thailand Vol. 38 No. 3 July-Sep 2013 ตารางที่ ๑ เกณฑ์การออกแบบบึงประดิษฐ์ที่น�้ ำไหลท่วมผิวชั้นกรองอย่างอิสระ (ระบบบ� ำบัดน�้ ำเสียแบบบึง ประดิษฐ์ ๒๕๕๕) เกณฑ์การออกแบบ (Design Criteria) พารามิเตอร์ ค่าที่ใช้ออกแบบ Maximum BOD Loading กรณีที่ต้องการค่า BOD ของน�้ ำทิ้ง ๒๐ มก./ล. ๔.๕ ก./ตร.ม.-วัน กรณีที่ต้องการค่า BOD ของน�้ ำทิ้ง ๓๐ มก./ล. ๖.๐ ก./ตร.ม.-วัน Maximum TSS Loading กรณีที่ต้องการค่า TSS ของน�้ ำทิ้ง ๒๐ มก./ล. ๓.๐ ก./ตร.ม.-วัน กรณีที่ต้องการค่า TSS ของน�้ ำทิ้ง ๓๐ มก./ล. ๕.๐ ก./ตร.ม.-วัน ขนาดบ่อ (ความยาว : ความกว้าง) ๓ : ๑ – ๕ : ๑ ความลึกน�้ ำ (เมตร) ส่วนที่ ๑ และ ๓ ๐.๖-๐.๙ เมตร* ส่วนที่ ๒ ๑.๒-๑.๕ เมตร Minimum HRT (at Q max ) ของส่วนที่ ๑ และ ๓ (วัน) ๒ วัน Maximum HRT (at Q ave ) ของส่วนที่ ๒ (วัน) ๒-๓ วัน หมายเหตุ : TSS = ค่าของแข็งแขวนลอยทั้งหมด (Total Suspended Solids) Q max = Maximum monthly flow และ Q ave = Average flow, HRT = เวลาเก็บกักน�้ ำ (Hydraulic Retention Time) ๒. บึงประดิษฐ์ที่น�้ ำไหลใต้ผิวดินหรือชั้นกรองในแนวนอน (Subsurface flow systems: SFS หรือ Vegetated submerged bed system : VSB) ระบบนี้ประกอบด้วยร่องน�้ ำยาวหรือพื้นที่ที่เคลือบหรือ ฉาบวัสดุกันน�้ ำเพื่อป้องกันการรั่วซึม ภายในบรรจุตัวกรองหรือดินพร้อมทั้งปลูกพืช ดังรูปที่ ๒ น�้ ำเสียจะ ไหลอยู่ในชั้นของดินหรือชั้นกรอง ขณะที่น�้ ำเสียไหลผ่านชั้นกรอง น�้ ำเสียจะถูกบ� ำบัดในระหว่างที่สัมผัส ผิวหน้าของตัวกรองหรือชั้นกรอง ส่วนรากพืชช่วยในการตกตะกอนและลดสารแขวนลอยและสารอินทรีย์ ส่วนพืชที่อยู่บริเวณผิวน�้ ำ โดยเฉพาะสาหร่าย จะท� ำหน้าที่เพิ่มออกซิเจนละลายน�้ ำในน�้ ำเสียพร้อมทั้งเจริญ เติบโตเพิ่มจ� ำนวนและในบริเวณนี้จุลินทรีย์ชนิดที่ใช้ออกซิเจนจะย่อยสลายสารอินทรีย์และเกิดปฏิกิริยา ไนทริฟิเคชัน (nitrification) ได้ดีด้วย ส่วนบริเวณใต้ชั้นกรองจะอิ่มตัวด้วยน�้ ำตลอดเวลาและมีค่าออกซิเจน ละลายน�้ ำลดลง ท� ำให้เกิดปฏิกิริยาดีไนทริฟิเคชัน ส่งผลให้อัตราการบ� ำบัดสารประกอบไนโตรเจนสูงขึ้น

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=