สำนักงานราชบัณฑิตยสภา
9 สั นทั ด ศิ ริ อนั นต์ไพบูลย์, แทนตา จั นทร์วุ่น, เปี่ยมศั กดิ์ เมนะเศวต วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๘ ฉบับที่ ๓ ก.ค.-ก.ย. ๒๕๕๖ รูปที่ ๑ โครงสร้างของบึงประดิษฐ์ที่น�้ ำไหลท่วมผิวชั้นกรองอย่างอิสระ (ระบบบ� ำบัดน�้ ำเสียแบบบึงประดิษฐ์ ๒๕๕๕) ส่วนแรก น�้ ำเสีย กรองและ ตกตะกอน ลดความสกปรก จากสารอินทรีย์ (BOD) กรองสารแขวนลอย และลดสารอาหาร (ไนโตรเจน) ส่วนที่สอง ส่วนที่สาม น�้ ำทิ้งระบายออก ๑. บึงประดิษฐ์ที่น�้ ำไหลท่วมผิวชั้นกรองอย่างอิสระ (Free water surface system : FWS) ระบบนี้ประกอบด้วยแอ่งหรือร่องน�้ ำที่มีการฉาบวัสดุกันน�้ ำเพื่อป้องกันการรั่วซึม ภายในแอ่งหรือร่องน�้ ำ ประกอบด้วยดินและวัสดุตัวกรองที่ท� ำหน้าที่ให้รากพืชสามารถยึดเกาะอยู่ได้ ดังแสดงในรูปที่ ๑ และน�้ ำ จะไหลอยู่เหนือผิวดินหรือชั้นกรอง การท� ำงานในระบบนี้จะแบ่งเป็นส่วนต่าง ๆ ๓ ส่วนด้วยกัน ได้แก่ ๑.๑ การกรองและการตกตะกอน เกิดจากการปลูกพืชที่มีลักษณะสูงโผล่พ้นน�้ ำ เช่น กก ธูปฤๅษี ส่งผลให้การไหลของน�้ ำเสียผ่านบึงประดิษฐ์ช้าลง และตะกอนหนักสามารถจมตัวลงสู่ก้นแอ่งหรือร่องน�้ ำ ๑.๒ การลดปริมาณสารอินทรีย์ ด้วยพืชต่าง ๆ ทั้งพืชขนาดใหญ่และพืชขนาดเล็กที่แขวนลอย อยู่ในน�้ ำ เช่น จอก แหน รวมถึงจุลินทรีย์ชนิดต่าง ๆ ๑.๓ การลดสารอาหารจ� ำพวกสารประกอบไนโตรเจนและสารประกอบฟอสฟอรัส (U.S. EPA 1988), (D. Hammer 1989) สารประกอบไนโตรเจนและสารประกอบฟอสฟอรัสในน�้ ำเสียจะ ถูกพืชและจุลินทรีย์ก� ำจัดโดยการใช้เป็นสารอาหารและเกิดกระบวนการออกซิเดชัน-รีดักชัน โดยเฉพาะ อย่างยิ่ง สารประกอบไนโตรเจนจะเกิดกระบวนการออซิเดชัน : ไนทริฟิเคชัน (nitrification) โดย จุลินทรีย์ในกลุ่มไนทริไฟอิงแบคทีเรีย (nitrifying bacteria) และเกิดกระบวนการรีดักชัน : ดีไนทริฟิเคชัน (denitrification) โดยจุลินทรีย์ในกลุ่มดีไนทริไฟอิงแบคทีเรีย (denitrifying bacteria) การปลูกพืชต้นสูงพ้น น�้ ำส่งผลให้ออกซิเจนละลายน�้ ำในส่วนนี้ลดลง ซึ่งจะท� ำให้อัตราการเกิดกระบวนการดีไนทริฟิเคชันสูงขึ้น บึงประดิษฐ์ที่น�้ ำไหลท่วมผิวชั้นกรองอย่างอิสระ เป็นระบบบ� ำบัดที่น�้ ำไหลตามกัน (Plug flow) จึงลดปัญหาน�้ ำไหลลัดวงจร นอกจากนี้ ระบบบึงประดิษฐ์ดังกล่าวยังมีข้อดี คือ ค่าก่อสร้างบึงประเภทนี้ ต�่ ำกว่าบึงประดิษฐ์ที่น�้ ำไหลใต้ผิวชั้นกรองในแนวนอนและในแนวยืน อีกทั้งยังเป็นระบบที่ดูแลรักษาง่าย ใช้ พลังงานต�่ ำ แต่มีข้อจ� ำกัดคือต้องใช้พื้นที่มากและระยะเวลากักเก็บน�้ ำเสียนาน และมักมีค่าฟีคัลโคลิฟอร์ม แบคทีเรีย (fecal coliform bacteria) ในน�้ ำทิ้งหลังผ่านการบ� ำบัดแล้วเกินมาตรฐานก� ำหนด เกณฑ์การ ออกแบบบึงประดิษฐ์ที่น�้ ำไหลท่วมผิวชั้นกรองอย่างอิสระนั้นมีค่าก� ำหนดดังแสดงในตารางที่ ๑
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=