สำนักงานราชบัณฑิตยสภา
โรงไฟฟ้านิ วเคลี ยร์ : ทางเลื อกส� ำหรั บอนาคต 134 The Journal of the Royal Institute of Thailand Vol. 38 No. 3 July-Sep 2013 พลังงานทดแทนที่เป็นพลังงานชีวมวล พลังงานลม พลังงานแสงอาทิตย์ ถ่านหิน เป็นต้น โดยต้อง พิจารณาถึงความต้องการพลังงานของประเทศต่าง ๆ ในโลกด้วยว่ามีแนวโน้มหรือทิศทางเป็นอย่างไร (รูปที่ ๘) เพื่อประกอบในการตัดสินใจ รูปที่ ๘ แนวโน้มการใช้พลังงานโลก (http://www.bp.com ) ๒. แผนระยะยาว แผนระยะยาวเป็นสิ่งที่ส� ำคัญอย่างยิ่งเพราะจะเป็นตัวก� ำหนดทิศทางของ ประเทศในอนาคตว่าจะเป็นอย่างไร และจะเป็นตัวบ่งบอกถึงความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ด้วย การใช้เชื้อเพลิงชนิดต่าง ๆ ของแต่ละประเทศทั่วโลกมักค� ำนึงถึงความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคมของ ประเทศโดยพยายามที่จะพึ่งพาทรัพยากรของประเทศเป็นหลัก จึงไม่น่าแปลกใจเลยว่าเหตุใดโรงไฟฟ้าส่วน ใหญ่ในประเทศจีนจึงเป็นโรงไฟฟ้าถ่านหิน ทั้งนี้เพราะประเทศจีนมีถ่านหินปริมาณมากและสามารถใช้ไปได้ อีกหลายสิบปี (http://www.bp.com) แต่เมื่อพิจารณาถึงการกระจายความเสี่ยงในการใช้พลังงานชนิดต่าง ๆ ในการผลิตไฟฟ้าของประเทศจีนจะเห็นว่า จีนเริ่มพัฒนาโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ขึ้น ส่วนประเทศเกาหลีซึ่งต้อง
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=