สำนักงานราชบัณฑิตยสภา
5 สั นทั ด ศิ ริ อนั นต์ไพบูลย์, แทนตา จั นทร์วุ่น, เปี่ยมศั กดิ์ เมนะเศวต วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๘ ฉบับที่ ๓ ก.ค.-ก.ย. ๒๕๕๖ ไนทริฟิเคชันและกระบวนการย่อยสลายแบบใช้อากาศ และป้องกันการอุดตันของตัวกลางในการไหลแนวดิ่ง ๓.๓ พืชใต้น�้ ำ (Submerged plant) พืชใต้น�้ ำมีตัวอย่างเช่น สาหร่ายพุงชะโด สาหร่ายหาง กระรอก ดีปลีน�้ ำ ดังแสดงในรูปที่ ๓ และตารางที่ ๔ หากบึงประดิษฐ์มีระดับน�้ ำลึกมาก พืชเหล่านี้อาจ เจริญเติบโตไม่ดี เนื่องจากได้รับแสงน้อย รูปที่ ๒ ลักษณะของพืชโผล่เหนือน�้ ำ (กรมควบคุมมลพิษ-กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ๒๕๕๖) รูปที่ ๓ ลักษณะของพืชใต้น�้ ำ (กรมควบคุมมลพิษ-กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ๒๕๕๖)
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=