สำนักงานราชบัณฑิตยสภา
97 ใจนุช จงรั กษ์ วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๘ ฉบับที่ ๓ ก.ค.-ก.ย. ๒๕๕๖ ผู้ป่วยได้รับการถ่ายภาพรังสีด้วย Cone beam CT Mercuray เพื่อศึกษารายละเอียดของ พยาธิสภาพและสร้างภาพ ๓ มิติ ตามรูปที่ ๒ ซึ่งจะเห็นปุ่มกระดูกกลางเพดานปากมีขนาดยาว ๓๖.๑ มิลลิเมตร กว้าง ๒๒.๕ มิลลิเมตร ตรงกลางมีแผลเป็นหลุมใหญ่ ขอบไม่เรียบ กระดูกโผล่จากแผลเห็นชัดเจน รูปที่ ๓ ถึงรูปที่ ๕ แสดงปุ่มกระดูกกลางเพดานปากและเงาโปร่งรังสีที่แสดงการท� ำลายกระดูก สลับกับ เงาทึบรังสีของกระดูกตายเนื่องจากขาดเลือดมาเลี้ยง ลักษณะดังกล่าวนี้ไม่แตกต่างจากกระดูกพรุนอักเสบ ( osteomyelitis ) แต่เมื่อวิเคราะห์ร่วมกับประวัติการได้รับยาในกลุ่มบิสฟอสโฟเนต จึงให้การวินิจฉัยว่า ผู้ป่วยมี bisphosphonate related - osteonecrosis of the jaws ( BRONJ ) ทันตแพทย์และแพทย์เจ้าของไข้ได้ร่วมกันรักษา โดยหยุดยา fosamax ล้างแผลในช่องปากเป็น ระยะ และตัดกระดูกตายออก ร่วมกับการให้ยาปฏิชีวนะ ปัจจุบันผู้ป่วยมีอาการทุเลาลง การรักษาการใส่ ฟันและการติดตามอาการยังคงด� ำเนินต่อไป รูปที่ ๒ ภาพ ๓ มิติแสดงปุ่มกระดูกขนาดใหญ่ มีรอยแผล (ศรชี้) เป็นหลุม ขอบไม่เรียบ
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=