สำนักงานราชบัณฑิตยสภา
59 นพมาศ อุ้งพระ วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๘ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๖ คน พวกเขาท� ำถูกร้อยละ ๗๐ แต่พวกที่ท� ำข้อสอบร่วมกับชาย ๒ คน ท� ำถูกร้อยละ ๕๕ การเหมารวม สามารถข่มขู่ชายผิวขาวด้วย เมื่อเปรียบเทียบกับชาวเอเชีย (ซึ่งถูกเหมารวมว่าเก่งค� ำนวณ) (J. Aronson & others, 1999) จริง ๆ แล้วเราทุกคนก็เคยผ่านประสบการณ์ถูกการเหมารวม ข่มขู่ เพราะเราทุกคนคงเคย เจอประสบการณ์ที่ถูกคาดหวังว่าจะท� ำได้ไม่ดี (Marx & others, 1999) งานวิจัยโครงการอื่น ๆ โดยกลุ่มของสตีลได้ศึกษาประเด็นที่โต้แย้งกันมากเกี่ยวกับความแตกต่าง ทางสีผิวและผลงานทางวิชาการ (Steele & Aronson, 1995) แม้ว่าการทดสอบไอคิวจะถูกกล่าวหา ว่ามีอคติทางสีผิว แต่ผู้ปกป้องการทดสอบนี้ก็บอกว่า การทดสอบดังกล่าวถูกออกแบบมาเพื่อวัดผลการเรียน ในโรงเรียน (ซึ่งท� ำนายผลการเรียนของนักเรียนผิวขาวได้ถูกต้องพอสมควร) แต่มักท� ำนายผลการเรียนเด็ก ผิวด� ำสูงกว่าที่เด็กท� ำจริง จึงเกิดค� ำถามขึ้นมาว่าเกิดจาก stereotype threat หรือไม่ เพราะเวลาทดสอบ ไอคิวได้คะแนนสูง แต่เวลาเรียนได้เกรดไม่ดี ในการศึกษาชิ้นส� ำคัญโครงการหนึ่ง (Steele & Aronson, 1995) ผู้วิจัยบอกผู้ท� ำข้อสอบว่า มีการพิสูจน์ว่าแบบทดสอบไม่มีอคติทางสีผิว ไม่มีความแตกต่างทางสีผิว ในสภาพดังกล่าวผู้เข้าร่วม ชาวแอฟริกันอเมริกันท� ำข้อสอบดีเท่ากับที่คะแนน SAT ท� ำนาย (ปรกติมักท� ำไม่ดีเท่าที่คะแนนทดสอบบอก) ผู้ท� ำข้อสอบอื่นไม่ได้รับการบอกว่าไม่มีอคติทางสีผิว ดังนั้น จึงเกิด stereotype threat (ท� ำแย่กว่าที่คะแนน ทดสอบบอก) เพราะคิดว่า “ถ้าฉันท� ำไม่ดี ฉันจะยืนยันการเหมารวมเกี่ยวกับชาวแอฟริกันอเมริกันว่า มีเชาวน์ปัญญาด้อยกว่า” ความกังวลดังกล่าวมีผลท� ำให้ท� ำไม่ดีเท่าคะแนนทดสอบซึ่งมักเกิดขึ้นกับนักเรียน ชาวแอฟริกันอเมริกัน การข่มขู่ของการเหมารวมมีผลต่อการท� ำข้อสอบ ซึ่งในสถานการณ์ดังกล่าว นักเรียน ชาวแอฟริกันอเมริกันท� ำได้แย่กว่าคนอื่น และท� ำได้แย่กว่าผลสอบ SAT ที่เคยท� ำไว้ ผลงานวิจัยชิ้นอื่นได้ แสดงว่า ภายใต้การข่มขู่ของการเหมารวม ชาวแอฟริกันอเมริกันมีความดันโลหิตเพิ่มสูงขึ้น (Blascovich, Spencer, Quinn & Steele, 2001) จริงอยู่ การขจัดอิทธิพลของการข่มขู่ของการเหมารวมมิได้ขจัดช่อง ว่างของคะแนนทดสอบระหว่างคนผิวขาวกับผิวด� ำโดยสิ้นเชิง (Sackett, Hardison, & Cullen, 2004a, 2004b; Steele & Aronson, 2004) แต่มันก็ขจัดแนวของปรากฏการณ์ที่เป็นปัญหาซึ่งนักเรียนหลายคน ท� ำข้อสอบและมีผลการเรียนไม่ดีเท่าคะแนนทดสอบไอคิว (สอบไอคิวได้ดีกว่าผลการเรียน) การข่มขู่ของการเหมารวมนี้ท� ำให้การปฏิสัมพันธ์ของคนผิวขาวกับคนผิวด� ำมีปัญหา เพราะก่อ ให้เกิดความวิตกกังวลต่อทั้ง ๒ ฝ่าย เพราะคนผิวด� ำจะกังวลว่าคนผิวขาวมีอคติต่อพวกตน และตนจะ มีพฤติกรรมที่ยืนยันอคติดังกล่าว ในขณะเดียวกัน คนผิวขาวก็กังวลว่าอีกฝ่ายจะคิดว่าตนมีอคติ พวกเขา ก็เป็นกังวลว่าจะท� ำอะไรที่ยืนยันการเหมารวม (Plant, 2004; Shelton, 2003) ปรากฏการณ์เรื่องการข่มขู่ของการเหมารวมน่าจะท� ำให้เกิดความเห็นใจชนกลุ่มน้อย โดยเฉพาะ อย่างยิ่งภายใต้สภาพที่ท� ำเรื่องยากล� ำบาก เพราะในสภาพดังกล่าวการปฏิบัติการเองก็ยากอยู่แล้ว และ
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=