สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

199 ชนก สาคริก วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๘ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๖ มาแทน เพราะดีดบรรเลงได้ง่ายกว่า ทั้งยังมีเสียงไพเราะน่าฟังด้อีกด้วย และด้วยเหตุที่พิณกู่ฉินบรรเลง เป็นเพลงได้ยากดังนั้นพิณชนิดนี้จึงมีแต่ผู้ที่เป็นนักปราชญ์ราชบัณฑิตผู้คงแก่เรียนเท่านั้นจึงจะสามารถ บรรเลงได้ พิณ ๖ สาย พิณชนิดนี้เดิมปรากฏอยู่ในวัฒนธรรมของหลายชนชาติ มีรูปร่าง ลักษณะแตกต่างกัน เป็นพิณในระบบที่เรียกว่า “สายอิสระ” คือขึงสายเป็น ตัวโน้ตเสียงต่าง ๆ แล้วดีดไปตามนั้น ไม่ได้ใช้นิ้วกดสายเพื่อเปลี่ยนเสียง จึงไม่ค่อยเป็นที่นิยมกันแพร่หลายนักเพราะมีเสียงไม่ครบ ๗ เสียง เวลา บรรเลงจึงจ� ำเป็นต้องหลบเสียงสูงขึ้นหรือต�่ ำลงอยู่บ่อย ๆ ท� ำให้ขาดความ ไพเราะน่าฟังลงไปมาก พิณ ๖ สายของแต่ละชนชาติจึงมีรูปแบบต่าง ๆ กันออกไปตามรสนิยมของช่างผู้ผลิตต่อมา จึงได้มีการพัฒนาให้มีคอพิณส� ำหรับใช้นิ้ว กดลงไปเพื่อเพิ่มเสียงสูงต�่ ำให้มากขึ้นจึง สามารถลดจ� ำนวนสายให้น้อย ลงเหลือเพียงแค่ ๒ หรือ ๓ สาย เท่านั้น แต่บางชนิดแม้มีคอพิณ ส� ำหรับกดเสียงเพิ่มขึ้นก็ยังใช้ จ� ำนวนสาย ๖ สายเท่าเดิมก็ มีเช่น กีต้าร์ เป็นต้น ส่วนพิณ ๖ สายที่ใช้สายแบบอิสระนั้นจะไม่ค่อยพบเห็นกันมากนักในปัจจุบัน จะมีก็แต่ในบางท้องถิ่นในแถบชนบท ของแต่ละชนชาติดังตัวอย่างในภาพที่น� ำมาให้ชมกันเป็นตัวอย่างเท่านั้น พิณ ๕ สาย เครื่องดนตรีประเภทพิณที่ใช้ระบบ ๕ เสียงที่เรียกกันว่า Pentatonic Scale มีต้นก� ำเนิดขึ้น ในประเทศแถบเอชียก่อนเป็นแห่งแรก พิณเหล่านี้มีสายเพียง ๕ สายเท่านั้นแต่ให้เสียงที่ไพเราะน่าฟังจึงมี ปรากฏอยู่ทั่วไปในหลายประเทศ ในจีน มีการประดิษฐ์พิณชนิดนี้ด้วยกระบอก ไม้ไผ่ขนาดใหญ่โดยเป็นเครื่องดนตรี

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=