สำนักงานราชบัณฑิตยสภา
10๖ การแตกสลายเชิ งเรงปฏิ กิ ริ ยาของพอลิ เมทิ ลเมทาคริ เลตดวยตั วเรงปฏิ กิ ริ ยาซี โอไลต The Journal of the Royal Institute of Thailand Vol. 38 No. 4 Oct-Dec 2013 อิทธิพลของปริมาณต� าแหน่งกรด (acid site amount) ของซีโอไลต์ต่อการกระจายตัวของผลิตภัณฑ์ ซีโอไลต์ที่ใช้ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีปริมาณต� าแหน่งกรดต่างกัน (สัดส่วนของ SiO 2 /Al 2 O 3 ต่างกัน) สามารถเรียงตามล� าดับจากมาก-น้อยได้ดังนี้ ส� าหรับ ZSM5: ZSM5-25 > ZSM5-1000 และ ส� าหรับ USY: HUSY-6 > USY-30 > USY-63 > USY-337 ตัวเลขที่แสดงต่อท้ายชนิดของซีโอไลต์คือ สัดส่วนของ SiO 2 /Al 2 O 3 จากการทดลองพบว่า ซีโอไลต์ทั้ง 2 ชนิดให้ผลสอดคล้องไปในทิศทางเดียวกัน ซีโอไลต์ที่มีสัดส่วนของ SiO 2 /Al 2 O 3 น้อยซึ่งบ่งบอกได้ว่ามีปริมาณต� าแหน่งกรดมาก (ต� าแหน่งกรดอยู่ที่ ต� าแหน่งของ Al) ให้ผลได้ของผลิตภัณฑ์แก๊สและของแข็งมาก และผลได้ของผลิตภัณฑ์ดังกล่าวจะลดลง เมื่อใช้ซีโอไลต์ที่มีสัดส่วนของ SiO 2 /Al 2 O 3 มากขึ้น ในทางกลับกันผลได้ของผลิตภัณฑ์ของเหลวจะเพิ่มขึ้น ตามสัดส่วนของ SiO 2 /Al 2 O 3 ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแตกสลายเชิงเร่งปฏิกิริยาของพีเอ็มเอ็มเอด้วยซีโอไลต์ ZSM-5 และ USY มีสัดส่วนของ SiO 2 /Al 2 O 3 ต่างกันดังรูปที่ ๔ รูปที่ ๓ กำรกระจำยตัวของผลิตภัณฑ์ที่ได้จำกกำรแตกสลำยเชิงเร่งปฏิกิริยำของพีเอ็มเอ็มเอ ด้วยซีโอไลต์ ZSM5, Beta และ USY รูปที่ ๔ กำรกระจำยตัวของผลิตภัณฑ์ที่ได้จำกกำรแตกสลำยเชิงเร่งปฏิกิริยำของพีเอ็มเอ็มเอ ด้วยซีโอไลต์ ZSM-5 และ USY ที่มีสัดส่วนของ SiO 2 /Al 2 O 3 ต่ำงกัน
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=