สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

10๕ สุภาภรณ คางคํ า, สมศั กดิ์ ดํ ารงคเลิ ศ, ชวลิต งามจรั สศรี วิ ชั ย วารสารราชบัณฑิตยสถาน ป ที่ ๓๘ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๖ รูปที่ ๒ Powder XRD patterns ของซีโอไลต์ที่ใช้ในกำรทดลอง; (a) ZSM 2-25, (b) ZSM 5-1000 (c) Beta-25, (d) HUSY-6, (e) USY-30, (f) USY-63 และ (g) USY-337. ซีโอไลต์ ZSM-5, Beta และ USY จึงถูกน� ามาประยุกต์ใช้ในการแตกสลายของพีเอ็มเอ็มเอ ณ อุณหภูมิที่ สามารถท� าปฏิกิริยาได้คือ ๓00 องศาเซลเซียส คณะผู้วิจัยได้ศึกษาอิทธิพลของสภาพกรด (acidity) ของ ซีโอไลต์ต่อการกระจายตัวของผลิตภัณฑ์ อิทธิพลของความแรงกรด (acid strength) ของซีโอไลต์ต่อการกระจายตัวของผลิตภัณฑ์ จากการศึกษาการแตกสลายเชิงเร่งปฏิกิริยาของพีเอ็มเอ็มเอด้วยซีโอไลต์ที่อุณหภูมิ ๓00 องศา เซลเซียส นาน 2 ชั่วโมง ด้วยซีโอไลต์ที่มีความแรงกรดต่างกันแต่มีสัดส่วน SiO 2 /Al 2 O 3 ใกล้เคียงกัน ซึ่ง สามารถเรียงตามล� าดับได้ดังนี้ คือ ZSM5-25 > Beta-255 > USY-๓0 การกระจายตัวของผลิตภัณฑ์ ที่ได้จากการแตกสลายเชิงเร่งปฏิกิริยาของพีเอ็มเอ็มเอเป็นดังรูปที่ ๓ จากรูปนี้เห็นได้ว่าผลได้ของ ผลิตภัณฑ์แก๊สและของแข็งลดลง โดยที่ผลิตภัณฑ์ของเหลวเพิ่มขึ้นเมื่อใช้ซีโอไลต์ที่มีความแรงกรด น้อยลง ผลิตภัณฑ์ของเหลวเมื่อถูกน� ามากลั่นแยกแบ่งได้ 2 ส่วนคือ ผลิตภัณฑ์เบา (light fraction) และผลิตภัณฑ์หนัก (heavy fraction) จากการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์เบาด้วย GC-MS พบว่ามีองค์ประกอบ หลักเป็นเมทิลเมทาคริเลตมอนอเมอร์ ผลิตภัณฑ์หนักมีองค์ประกอบเป็น Oxygenated hydrocarbon (C4-C16) โดยที่ความหลากหลายของผลิตภัณฑ์เหล่านี้ขึ้นอยู่กับโครงสร้าง รูปร่าง และขนาดรูพรุนของ ซีโอไลต์

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=