สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

ส้วมยุคใหม่และประเด็ นด้านเทคโนโลยี สุขภาพ และสิ่ งแวดล้อม 92 The Journal of the Royal Institute of Thailand Vol. 39 No. 2 April-June 2014 ระบบบ� ำบัดน�้ ำเสียจากครัวเรือนที่ใช้ส่วนใหญ่ในประเทศไทยคือ ๑) ถังซึมแบบ ๑ บ่อ ๒) ถัง ซึมแบบ ๒ บ่อ ๓) บ่อเกรอะ และ ๔) ถังบ� ำบัดน�้ ำเสียส� ำเร็จรูป มีการวิเคราะห์ลักษณะของตัวอย่างที่มา จากระบบบ� ำบัดน�้ ำเสียจากครัวเรือน ตารางที่ ๓ แสดงผลจากการวิเคราะห์ค่าของแข็งทั้งหมด ค่าบีโอดี ไนโตรเจนทั้งหมด และฟอสเฟตทั้งหมดของน�้ ำทิ้งจากแต่ละระบบ โดยพบว่าถังซึมแบบ ๑ บ่อและ ๒ บ่อ มีค่าเหล่านี้สูงกว่าเมื่อเทียบกับถังบ� ำบัดน�้ ำเสียส� ำเร็จรูป ตารางที่ ๓ ผลจากการวิเคราะห์ค่าของแข็งทั้งหมด ค่าบีโอดี ไนโตรเจนทั้งหมด และฟอสเฟตทั้งหมด ของน�้ ำทิ้งจากระบบบ� ำบัดน�้ ำเสียจากครัวเรือนแต่ละระบบ (หน่วยเป็นมิลลิกรัมต่อลิตร) ชนิดของระบบ บ� ำบัดน�้ ำเสีย จากครัวเรือน ของแข็งทั้งหมด ค่าบีโอดี ไนโตรเจนทั้งหมด ฟอสเฟตทั้งหมด น�้ ำเข้า น�้ ำออก น�้ ำเข้า น�้ ำออก น�้ ำเข้า น�้ ำออก น�้ ำเข้า น�้ ำออก ถังซึมแบบ ๑ บ่อ ๑,๐๒๐-๒,๓๖๐ ๙๐๐-๔,๒๕๐ ๘๙๐-๑๐,๑๒๐ ๑๕-๗๐ ๑๗๐-๑,๖๒๐ ๕๐-๒๗๐ ๓๐-๓๕๐ - ถังซึมแบบ ๒ บ่อ ๒,๔๒๐-๑๖,๘๖๐ ๙๖๐-๑,๔๕๐ ๙๒๐-๗,๖๑๐ ๑๐-๓๐ ๒๐๐-๑,๑๑๐ ๔๐-๑๐๐ ๗๐-๒๔๐ ๒-๔ บ่อเกรอะ ๑๐,๐๙๐ ๑,๓๐๐ ๔,๙๕๐ ๗๐ ๑,๑๐๐ ๑๘๐ ๑๗๐ ๖ ถังบ� ำบัดน�้ ำเสีย ส� ำเร็จรูป ๖๔๐-๔,๕๑๐ ๖๘๐-๑,๖๘๐ ๒๓-๘๔๐ ๓๐-๒๔๐ ๕๐-๓๘๐ ๖๐-๓๙๐ ๖๐-๓๔๐ ๖-๒๒๐ ผลการวิเคราะห์จากตารางที่ ๔ พบว่าปริมาณเชื้อโคลิฟอร์มทั้งหมด เชื้อโคลิฟอร์มในอุจจาระ และเชื้ออี. โคไลจ� ำนวนมากในถังซึมแบบ ๑ บ่อ ถังซึมแบบ ๒ บ่อ ส่วนถังบ� ำบัดน�้ ำเสียส� ำเร็จรูปมีปริมาณ เชื้อจุลินทรีย์ไม่ต่างกันของระบบน�้ ำเข้าและระบบน�้ ำทิ้ง ในท� ำนองเดียวกัน ปริมาณเชื้อก่อโรคในระบบน�้ ำ ทิ้งไม่ได้มีแนวโน้มลดลง เนื่องจากชุดของถังมีประสิทธิภาพต�่ ำ จึงพบว่าปริมาณของเชื้อแบคทีเรียโคลิฟอร์ม ทั้งหมดในระบบน�้ ำทิ้งสูงกว่ามาตรฐานคุณภาพน�้ ำแหล่งน�้ ำผิวดิน โดยที่แบคทีเรียโคลิฟอร์มในอุจจาระหรือ เชื้ออี. โคไลบ่งชี้การปนเปื้อนของน�้ ำและขยะสิ่งปฏิกูลที่เป็นอันตรายหรือก่อให้เกิดโรคในสิ่งมีชีวิต

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=