สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

91 จงรั กษ์ ผลประเสริ ฐ, อาทิ ตยา ภานุวั ฒน์วนิ ชย์, ณวั ชร สุริ นทร์กุล, ธรรมรั ตน์ คุตตะเทพ วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๙ ฉบับที่ ๒ เม.ย.-มิ.ย. ๒๕๕๗ อัตราการเสียชีวิต กัมพูชา อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ เวียดนาม โรคท้องร่วงในเด็กอายุต�่ ำกว่า ๕ ปี ๕,๘๐๘ ๒๐,๕๙๒ ๑๐,๔๗๑ ๔,๑๓๖ โรคท้องร่วงในเด็กอายุตั้งแต่ ๕ ปีขึ้นไป ๖๔๓ ๒,๒๘๘ ๒,๙๕๕ ๔๔๐ สุขาภิบาล ร้อยละการปรับปรุงในชนบท ๑๖ ๔๐ ๕๙ ๕๐ ร้อยละการปรับปรุงในเมือง ๕๖ ๗๓ ๘๐ ๙๒ ร้อยละการได้รับการบ� ำบัดท่อ น�้ ำทิ้งในเมือง ๒๙ ๒ ๓ ๑๔ กรณีศึกษาที่ชุมชนคลองหลวง จังหวัดปทุมธานีของประเทศไทย พบการปนเปื้อนของ เชื้อแบคทีเรียที่ก่อให้เกิดโรคจากผักที่ล้างด้วยน�้ ำคลอง ก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อผู้บริโภค แหล่งมลพิษจาก แม่น�้ ำล� ำคลองส่วนใหญ่เกิดจากน�้ ำที่ซึมจากบ่อเกรอะ ในปัจจุบันถังซึมได้รับความนิยมทั่วไปในทุกพื้นที่ ยกเว้นพื้นที่เมืองใหม่ ในขณะที่ได้รับ ความนิยมทุกพื้นที่ในชนบท ครัวเรือนนิยมใช้ถังซึม ซึ่งอาจจะเป็นแบบ ๒ ถังหรือ ๑ ถังถึงร้อยละ ๘๖.๓ ใน ขณะที่บ่อเกรอะและถังบ� ำบัดน�้ ำเสียส� ำเร็จรูป คิดเป็นร้อยละ ๑๐ และร้อยละ ๕ ตามล� ำดับ ดังนั้น น�้ ำซึม จากถังซึมซึ่งมีการปนเปื้อนของสิ่งปฏิกูลจะแทรกซึมโดยตรงบริเวณดินรอบ ๆ และบริเวณที่น�้ ำไหลผ่าน ๑.๒ ระบบการบ� ำบัดน�้ ำเสียจากครัวเรือน ( Decentralized wastewater treatment type or DEWAT ) ในปัจจุบัน ระบบบ� ำบัดน�้ ำเสียจากครัวเรือน ( DEWAT ) ส่วนใหญ่ทั้งในเขตเมืองและ ชนบทเป็นแบบถังซึม ระบบถังซึมนี้ประกอบด้วยแบบ ๑ บ่อและ ๒ บ่อ นิยมใช้ประมาณร้อยละ ๘๖.๓ ของครัวเรือนที่ส� ำรวจ ในขณะที่บ่อเกรอะและถังบ� ำบัดน�้ ำเสียส� ำเร็จรูปคิดเป็นร้อยละ ๑๐ และร้อยละ ๕ ตามล� ำดับ ( Dulyakasem et al., 2013 ) ดังนั้น น�้ ำซึมจากถังซึมซึ่งมีการปนเปื้อนของสิ่งปฏิกูลจะแทรกซึม โดยตรงบริเวณดินรอบ ๆ และบริเวณที่น�้ ำไหลผ่าน ที่มา : WSP (๒๕๕๑) ตารางที่ ๒ อัตราการเสียชีวิตที่เกิดจากความไม่ถูกหลักสุขาภิบาล

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=