สำนักงานราชบัณฑิตยสภา
89 จงรั กษ ผลประเสริ ฐ, อาทิ ตยา ภานุวั ฒนวนิ ชย, ณวั ชร สุริ นทรกุล, ธรรมรั ตน คุตตะเทพ วารสารราชบัณฑิตยสถาน ป ที่ ๓๙ ฉบับที่ ๒ เม.ย.-มิ.ย. ๒๕๕๗ สูงขึ้น ตัวอย่างเช่น ชุมชนเมืองของประเทศพม่าคิดเป็นร้อยละ ๗๐ แต่ประมาณร้อยละ ๕ ของประชากร ในเมืองยังขาดทรัพยากรแหล่งน�้ า นอกจากนี้การศึกษาผลกระทบด้านสุขาภิบาลพบว่าประเทศกัมพูชา อินโดนีเซีย และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ได้รับการสุขาภิบาลและแหล่งน�้ าสะอาดไม่เพียงพอ ถึงแม้ว่าประเทศไทย มาเลเซีย และฟิลิปปินส์ จะมีสถิติที่บ่งชี้ว่า ประชากรสามารถ เข้าถึงการสุขาภิบาลที่ดีขึ้นโดยพิจารณาจากจ� านวนส้วมต่อประชากร อย่างเช่นประชากรประเทศไทยมี ส้วมกว่าร้อยละ ๙๕ แต่การจัดการสิ่งปฏิกูลจากส้วมอย่างถูกหลักสุขาภิบาลยังมีอยู่น้อยมาก ไม่ว่าจะเป็น ชุมชนเมืองหรือชนบท รูปที่ ๒ ความไม่เพียงพอของการสุขาภิบาลที่ดีส� าหรับประชากรในชนบทและเมืองของแต่ละประเทศใน อาเซียน ที่มา : WHO (๒๕๕๖)
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=