สำนักงานราชบัณฑิตยสภา
79 ปริ ญญา จิ นดาประเสริ ฐ, ยุวดี แซ่ตั้ ง วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๙ ฉบับที่ ๒ เม.ย.-มิ.ย. ๒๕๕๗ ๗. บทสรุป คอนกรีตพรุนเป็นคอนกรีตที่มีสมบัติที่ดีในด้านการระบายน�้ ำซึ่งเป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการ ประยุกต์ใช้เป็นผิวทางที่ระบายน�้ ำได้ การเข้าใจพฤติกรรมของคอนกรีตพรุนจะช่วยให้สามารถพัฒนาก� ำลัง ของคอนกรีตให้ดียิ่งขึ้น และสามารถน� ำไปใช้งานได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ถือเป็นวัสดุชนิดหนึ่งที่เป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อมและน่าสนใจ ควรที่จะพัฒนาต่อไป ปัจจุบันยังไม่มีมาตรฐานการออกแบบและทดสอบ คอนกรีตประเภทนี้อย่างสมบูรณ์ แต่จากการศึกษางานวิจัยที่ผ่านมาพบว่า สมบัติด้านก� ำลังและการซึม ผ่านน�้ ำมีความสัมพันธ์กับปริมาณโพรงช่องว่าง การใช้วัสดุพอซโซลานและสารลดน�้ ำสามารถเพิ่มก� ำลังของ คอนกรีตพรุนได้ นอกจากนี้ คอนกรีตพรุนยังมีสมบัติการน� ำความร้อนที่ต�่ ำกว่าคอนกรีตทั่วไปอีกด้วย รูปที่ ๑๔ ค่าการน� ำความร้อนของคอนกรีตพรุนที่ท� ำจากมวลรวมเบา (Zaetang et al., 2013: 585-591) 0.30 0.25 0.20 DA-15 PA-15 RA-15 RA-25 RA-20 DA-25 DA-20 PA-20 PA-25 0.15 0.10 500 550 600 650 700 750 800 850 Thermal conductivity coefficient (W/mK) Density (kg/m 3 ) λ = 0.0004 D -0.0699, R 2 = 0.9462
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=