สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

เทคโนโลยี คอนกรี ตพรุน 78 The Journal of the Royal Institute of Thailand Vol. 39 No. 2 April-June 2014 ๖.๔ การน� าความร้อน จากการศึกษาของ Demirboğa และ Gül (DemirboğaandGül, 2003: 723-727) พบว่า คอนกรีตที่มีความหนาแน่นเพิ่มขึ้นส่งผลให้ค่าน� าความร้อนของคอนกรีตเพิ่มขึ้นตาม คือ คอนกรีตทั่วไปจะมี ค่าสัมประสิทธิ์การน� าความร้อนอยู่ระหว่าง ๑.๐-๒.๐ วัตต์ต่อเมตร-เคลวิน (Wong et al., 2007: 647-655), (Demirboğa, 2007: 2467-2471), (Uysal et al., 2004: 845-848) ขณะที่คอนกรีตมวลเบาซึ่งมี สมบัติของฉนวนที่ดีจะมีค่าสัมประสิทธิ์การน� าความร้อนอยู่ระหว่าง ๐.๑๑-๐.๙๓ วัตต์ต่อเมตร-เคลวิน (Khedari et al., 2001: 65-70), (Narayanan and Ramamurthy, 2000: 321-329), (Ünal et al., 2007: 584-590), (Sengul et al., 2011: 671-676) คอนกรีตมวลเบาที่มีปริมาณโพรงอากาศ มากหรือความหนาแน่นน้อยจะมีค่าการน� าความร้อนต�่ า ส่วนคอนกรีตพรุนที่ใช้มวลรวมหยาบเป็นหิน ธรรมชาติจะมีค่าสัมประสิทธิ์การน� าความร้อนอยู่ระหว่าง ๐.๗๘-๑.๐ วัตต์ต่อเมตร-เคลวิน (Wong et al., 2007: 647-655) คอนกรีตพรุนที่ใช้มวลรวมหยาบเป็นมวลรวมเบาซึ่งมีปริมาณโพรงช่องว่างอยู่มากจะให้ ค่าสัมประสิทธิ์การน� าความร้อนที่น้อยกว่าคอนกรีตพรุนทั่วไป ดังแสดงในรูปที่ ๑๔ คอนกรีตพรุนเบาจะมี ค่าการน� าความร้อนอยู่ระหว่าง ๐.๒-๐.๔ วัตต์ต่อเมตร-เคลวิน ซึ่งสามารถพัฒนาเป็นฉนวนกันความร้อนได้ (Zaetang et al., 2013: 585-591) ปริมาณการแทนที่ (ร้อยละ) รูปที่ ๑๓ ค่าน�้ าหนักสูญเสียจากการขัดถูที่ผิวหน้าของคอนกรีตพรุนทดสอบตาม ASTM C944 (ยุวดี แซ่ตั้ง, ๒๕๕๗) ี คุ น น�้ าหนักสูญเสียจากการถูกข้อสีที่ผิวหน้า (กรัม) 0 0 20 40 60 80 100 RAB RAC 2 4 6 8 10 12 14 16

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=