สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

เทคโนโลยี คอนกรี ตพรุน 72 The Journal of the Royal Institute of Thailand Vol. 39 No. 2 April-June 2014 โดยที่ h 1 คือความสูงของระดับน�้ ำ ณ เวลาที่เริ่มวัด (เซนติเมตร), h 2 คือความสูงของน�้ ำ ณ เวลาที่หยุดวัด (เซนติเมตร), t คือช่วงเวลาในการวัด (วินาที), L คือความยาวของตัวอย่าง (เซนติเมตร), A 1 คือพื้นที่หน้าตัดของตัวอย่าง (ตารางเซนติเมตร), A 2 คือพื้นที่หน้าตัดของท่อ (ตารางเซนติเมตร) ๕.๒ การทดสอบการสึกกร่อนของผิวหน้า การทดสอบการสึกกร่อนของผิวหน้าของตัวอย่างคอนกรีตวิธี Rotating Cutter ตาม มาตรฐาน ASTM C944 (ASTM C944 / C944M, 2012) เป็นการทดสอบเพื่อวัดการต้านทานการสึก กร่อนผิวหน้าของคอนกรีตงานถนน สามารถน� ำมาใช้วัดการต้านทานการสึกกร่อนและการหลุดล่อนของ ผิวหน้าของคอนกรีตพรุนได้ดี การทดสอบท� ำได้โดยใช้เครื่องมือพร้อมหัวขัดดังแสดงในรูปที่ ๙ โดยใช้น�้ ำ หนักกดหัวขัด ๙๘ นิวตันเป็นเวลา ๒ นาที ตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบเป็นตัวอย่างรูปทรงสี่เหลี่ยมขนาด ๑๕ × ๑๕ × ๖ เซนติเมตร ตัวอย่างก่อนทดสอบควรอยู่ในสภาพเดียวกัน เนื่องจากปริมาณความชื้นที่แตก ต่างกันส่งผลต่อค่าการต้านทานการสึกกร่อนที่แตกต่างกัน ขั้นตอนการทดสอบเริ่มจากการใช้พลาสติกปิด ผิวด้านข้างเพื่อป้องกันตัวอย่างแตกหักระหว่างการยึดจับ จากนั้นเป่าตัวอย่างด้วยแรงดันลมเพื่อให้ตัวอย่าง สะอาด ชั่งน�้ ำหนักตัวอย่างก่อนขัดด้วยตราชั่งที่มีความละเอียด ๐.๑ กรัม น� ำตัวอย่างเข้าเครื่องยึดตัวอย่าง ให้แน่น เริ่มขัดตัวอย่างโดยมีการจับเวลา หลังขัดต้องเป่าเพื่อท� ำความสะอาดแล้วน� ำตัวอย่างไปชั่งเพื่อหา น�้ ำหนักตัวอย่างหลังขัด น� ำมาค� ำนวณหาน�้ ำหนักที่สูญเสียจากการขัดผิวหน้า รูปที่ ๙ การทดสอบการต้านทานการสึกกร่อนของ ตัวอย่างคอนกรีตพรุน (ยุวดี แซ่ตั้ง, ๒๕๕๗)

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=