สำนักงานราชบัณฑิตยสภา
เทคโนโลยี คอนกรี ตพรุน 70 The Journal of the Royal Institute of Thailand Vol. 39 No. 2 April-June 2014 ความหนาแน่นในสภาพแห้ง = (๔) ปริมาณโพรงทั้งหมด = (๕) โดยที่ A = น�้ ำหนักตัวอย่างในสภาพแห้ง ชั่งในอากาศ (กรัม), D = เส้นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ยของตัวอย่าง (มิลลิเมตร), L = ความยาวเฉลี่ยของตัวอย่าง (มิลลิเมตร), K = ๑๒๗๓๒๔๐, B = น�้ ำหนักตัวอย่างชั่งในน�้ ำ (กรัม), ρ w = ความหนาแน่นของน�้ ำที่อุณหภูมิที่ชั่งตัวอย่าง (กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร) ๕.๑ การทดสอบหาค่าการซึมผ่านน�้ ำ การทดสอบการซึมผ่านน�้ ำของคอนกรีตพรุนเป็นการทดสอบหาความสามารถที่น�้ ำ ไหลผ่านคอนกรีต คอนกรีตที่มีค่าการซึมผ่านน�้ ำสูงคือคอนกรีตที่น�้ ำไหลผ่านได้ดี จากการศึกษางานวิจัยใน อดีตพบว่า มีการทดสอบค่าการซึมผ่านน�้ ำของคอนกรีตพรุน ๒ วิธี คือ แบบแรงดันคงตัว (constant head method) และแบบแรงดันลด (falling head method) (Mahboub et al., 2009: 523-528), (Neithalath et al., 2010: 802-813) รูปที่ ๘ แสดงภาพจ� ำลองการทดสอบหาค่าการซึมผ่านน�้ ำแบบแรงดันคงตัว การทดสอบ ท� ำโดยเริ่มต้นจากการน� ำตัวอย่างคอนกรีตพรุนทรงกระบอกมาใส่ในแบบที่สามารถป้องกันการไหลซึมด้าน ข้างได้ จากนั้นน� ำตัวอย่างติดตั้งเข้ากับชุดทดสอบ ปล่อยน�้ ำเข้าสู่ชุดทดสอบโดยให้น�้ ำไหลเข้ากระบอกด้าน บนเหนือตัวอย่างและไหลผ่านตัวอย่างไปสู่กระบอกอีกด้าน ไล่ฟองอากาศที่อยู่ในระบบออกให้หมด ปรับ ปริมาณน�้ ำไหลเข้าให้ระดับน�้ ำที่ทางออกทั้งสองคงตัวแล้ววัดปริมาณน�้ ำด้วยการชั่งน�้ ำหนัก จากนั้นค� ำนวณ หาปริมาตรน�้ ำ ( Q , ลูกบาศก์เซนติเมตร) โดยจับเวลา ( t , วินาที) ค่าการซึมผ่านน�้ ำ ( k , เซนติเมตรต่อวินาที) สามารถค� ำนวณได้จากสมการที่ ๖ คือ (๖) KA D 2 L K ( A − B ) ρ w D 2 L 1 − 100 QL tHA k =
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=