สำนักงานราชบัณฑิตยสภา
วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๙ ฉบับที่ ๒ เม.ย.-มิ.ย. ๒๕๕๗ ปริญญา จินดาประเสริฐ ภาคีสมาชิก ส� ำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสถาน ศูนย์วิจัยและพัฒนาโครงสร้างมูลฐานอย่างยั่งยืน ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ยุวดี แซ่ตั้ง สาขาวิชาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร บทคัดย่อ คอนกรีตพรุน (pervious concrete) คือคอนกรีตชนิดพิเศษที่ได้ถูกออกแบบให้ มีโพรงช่องว่างอยู่ในเนื้อคอนกรีต โพรงเหล่านี้สามารถยอมให้น�้ ำและอากาศผ่านได้ คอนกรีต ชนิดนี้ถูกน� ำมาใช้ประโยชน์ในการท� ำพื้นผิวทางเดิน ลานจอดรถ หรือแม้กระทั่งท� ำถนนที่ สามารถระบายน�้ ำได้ ทั้งนี้เพื่อลดการเกิดปัญหาการไหลนองของน�้ ำฝนและเพิ่มประสิทธิภาพ การใช้งานเมื่อฝนตก นอกจากนี้ คอนกรีตพรุนยังสามารถน� ำไปใช้ท� ำเป็นวัสดุส� ำหรับการ กรองน�้ ำ ดูดซับเสียง ฉนวนกันความร้อน และปะการังเทียม คอนกรีตพรุนจึงถือว่าเป็นคอนกรีตที่ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม อย่างไรก็ตาม ส� ำหรับประเทศไทยนั้นยังมีการวิจัย รวบรวมองค์ความรู้ และ ใช้งานคอนกรีตพรุนไม่มากนัก บทความนี้เป็นผลการรวบรวมองค์ความรู้เกี่ยวกับสมบัติพื้นฐานของ คอนกรีตพรุนจากงานวิจัยและข้อมูลต่าง ๆ โดยครอบคลุมประวัติความเป็นมา การออกแบบส่วน ผสม การใช้งาน และการทดสอบสมบัติต่าง ๆ ของคอนกรีตพรุน ค� ำส� ำคัญ : คอนกรีตพรุน, โพรง, ช่องว่าง, มวลรวม, ซีเมนต์เพสต์ เทคโนโลยีคอนกรีตพรุน
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=