สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

25 อรุณ ชั ยเสรี วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๙ ฉบับที่ ๒ เม.ย.-มิ.ย. ๒๕๕๗ ประการแรก โครงสร้างต้องแข็งแรง ทนทาน และปลอดภัย ตัวอาคารก็ต้องมีความสวยงาม และ อยู่ได้อย่างสะดวกสบาย พร้อมงานวิศวกรรมระบบที่ ดี การจัดวางพื้นที่ใช้งานต้องเหมาะสม ถูกต้องตาม หลักวิชาและความประสงค์ของเจ้าของโครงการ และ สิ่งส� ำคัญก็คือ ต้องพยายามให้ค่าก่อสร้างอยู่ภายในงบ ประมาณที่ตั้งไว้ ผู้เกี่ยวข้องทั้งหมดนับตั้งแต่ผู้ออกแบบ ซึ่งประกอบด้วยสถาปนิก วิศวกรโครงสร้าง วิศวกร งานระบบ สถาปนิกออกแบบงานตกแต่งภายใน ภูมิ สถาปนิก ผู้ควบคุมงาน ผู้รับจ้างก่อสร้าง ผู้บริหาร โครงการ แม้แต่เจ้าของโครงการเอง ต้องท� ำหน้าที่ของ ตนให้สมบูรณ์ เพื่อให้งานก่อสร้างถูกต้องตามแบบ และ มีคุณภาพดี ข้อส� ำคัญคือค่าก่อสร้างไม่บานปลายมาก นัก เพราะถ้าเกินงบประมาณไปมาก ก็จะเป็นภาระ ของผู้ลงทุนอย่างใหญ่หลวง จนอาจเป็นการลงทุนที่ไม่ คุ้มค่าก็ได้ เช่นเดียวกับระยะเวลาของการก่อสร้าง จะต้อง บริหารงานก่อสร้างให้สอดคล้องกับงวดงาน ปรกติถ้า เป็นการลงทุนเชิงการค้า อาจก� ำหนดให้สร้างเป็นระยะ ( phase ) ฉะนั้น งานก็ต้องให้เสร็จตามระยะที่จะใช้งาน ก่อนเพื่อการบริหารการเงินเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ความประณีตในการท� ำงานก็มีผลกระทบมากเหมือน กัน ไม่ใช่เปิดใช้งานไม่ทันไร หลังคาแตกร้าว ฝนตก หลังคารั่ว หน้าร้อนร้อนจนใช้งานไม่ได้ เสียงก้องมาก เกินไป ฯลฯ คือ เพื่อให้ได้งานที่สมบูรณ์จริง ๆ จะต้อง เอาใจใส่ในทุก ๆ เรื่องที่กล่าวมาทั้งหมด รูปที่ ๖๕ ปลายเสาฝังเหล็กขนาด ๒๕ × ๒๕ มิลลิเมตร เพื่อรองรับหลังคา รูปที่ ๖๖ อาคารปฏิบัติการใช้ท่อเหล็กขนาดเส้น ผ่านศูนย์กลาง ๕๐.๘ มิลลิเมตร ถ่ายน�้ ำหนักหลังคาลงสู่เสาคอนกรีต รูปที่ ๖๗ แสดงพื้นที่ทั้งหมดของหลังคาสังเกต ดี ๆ จะเห็น compression members ท� ำด้วยท่อเหล็กอาบสังกะสี

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=