สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

หลั งคาเปลื อกบางและโครงสร้าง ๓ มิ ติ ชนิ ดอื่ น ๆ 24 The Journal of the Royal Institute of Thailand Vol. 39 No. 2 April-June 2014 ส� ำหรับโครงสร้าง ใช้เสาห่างกัน ๑๐ × ๑๐ เมตร ทั้งหมด ตรงคอเสาแยกเป็น ๔ แขน เพื่อตัด ช่วงหลังคาให้มีที่รองรับทุก ๆ ๕ เมตร ฉะนั้น มอดูล ( module ) ของหลังคาคือ ๑.๒๕ × ๑.๒๕ เมตร ท� ำให้ประหยัดค่าก่อสร้างลงได้มาก โครงสร้างทั้งหมด ประกอบด้วยรูปพีระมิดกลวงท� ำด้วยคอนกรีตหนาเพียง ๔๐ มิลลิเมตร เพียงเพื่อหุ้มเหล็กให้มิด และไม่ต้องมี คานรองรับ ปลายแขนที่ขึ้นไปรับหลังคาใช้เหล็กตัน ขนาด ๒๕ × ๒๕ มิลลิเมตร เท่านั้นเป็นที่รองรับ ขณะเริ่มการก่อสร้างได้หล่อพีระมิดกลวงจนได้ จ� ำนวนครบตามต้องการ เสร็จทันพอดีที่ตั้งเสา ๔ แฉก เสร็จ จากนั้นใช้เครื่องยกเล็ก ๆ ประกอบกันเองบนโครง ซึ่งมี ๔ ล้อ (ซ้ายมือของรูปที่ ๖๔) สามารถเข็นไปได้ทั่ว บริเวณ เป็นตัวยกชิ้นส่วนเหล่านี้วางบนที่รองรับโดย เชื่อมเหล็กขนาด ๑๕ มิลลิเมตร ที่อยู่รอบฐานพีระมิด ให้ติดกันจนเสร็จครบทุกชิ้น ส่วนด้านบนใช้ท่อเหล็ก ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง ๒๕ มิลลิเมตร เชื่อมระหว่าง ยอดพีระมิดทุกชิ้นซึ่งมีรูระบายอากาศร้อน ๔ รู และมี ครอบเหล็กเพื่อกันนกไปท� ำรังด้วย โดยสรุป โครงสร้าง ๓ มิติ มีอยู่มากมาย หลายชนิด ที่กล่าวมาทั้งหมดเป็นเพียงตัวอย่างที่พบกัน ทั่วไป ในการออกแบบอาคารจะเลือกใช้โครงสร้างชนิด ใด ควรพิจารณาให้รอบคอบถึงความเหมาะสม ไม่ใช่ ออกแบบสวยจริงแต่แพงมาก หรือใช้งานไม่ได้ตามความ ต้องการ คิดง่าย ๆ อาจใช้หลัก S.A.F.E ก็ได้ คือ S = strength & safety A = aesthetics F = function E = economy รูปที่ ๖๒ การหล่อชิ้นส่วนหลังคา เป็นรูปพีระมิดกลวง รูปที่ ๖๓ ชิ้นส่วนหลังคาที่หล่อไว้ตั้งแต่เริ่มงาน ก่อสร้าง พร้อมที่จะยกไปติดตั้ง รูปที่ ๖๔ เสา ๑ ต้น แยกออกเป็น ๔ แฉก

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=