สำนักงานราชบัณฑิตยสภา
23 อรุณ ชั ยเสรี วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๙ ฉบับที่ ๒ เม.ย.-มิ.ย. ๒๕๕๗ ปรกติเมื่อมีการเดินผ่านประตู จะมีการสูญเสีย ความดัน และเมื่อความดันระหว่างภายนอกและภายใน แตกต่างกัน จะมีปัญหาเรื่องการเปิดปิดประตู จึงแก้ ปัญหาด้วยการท� ำ air lock คือ ประตู ๒ ชั้น ๖. โครงสร้างพิเศษอื่น ๆ เปลือกบางที่มีรูปร่ างไม่ เป็ นไปตามทรง เรขาคณิต หรือผสมผสานกันหลายอย่าง จะยากแก่ การวิเคราะห์และค� ำนวณออกแบบ บางครั้งต้องใช้วิธี สมมติให้โครงสร้างนั้นมีรูปร่างทางเรขาคณิตที่ใกล้เคียง ที่สุด แล้ววิเคราะห์ และค� ำนวณ แล้วสร้างให้โครงสร้าง มีการถ่ายแรงตามที่ตั้งสมมุติฐานไว้ เวลาออกแบบจริง ควรท� ำการทดสอบการรับน�้ ำหนักเสียก่อน โดยอาจใช้ ค่าแฟกเตอร์ปลอดภัยสูงกว่าปรกติก็ได้ หลังคาคอนกรีตชนิดหล่อส� ำเร็จชนิด ๓ มิติ เป็นโครงสร้างพิเศษอีกชนิดหนึ่ง อาคารที่ท� ำการของคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (รูปที่ ๖๐-๖๗) หลังคาใช้ระบบ คอนกรีตหล่อส� ำเร็จทั้งหมด โดยหล่อทุกชิ้น ณ สถานที่ ก่อสร้าง รูปที่ ๕๙ พัดลมขนาดใหญ่ที่ใช้พ่นลมอัดอากาศ ให้หลังคาทรงตัวอยู่ได้ รูปที่ ๖๐ ด้านหน้าอาคารคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รูปที่ ๖๑ หลังคาทั้งหมดเป็นชนิดคอนกรีต หล่อส� ำเร็จ
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=