สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

19 อรุณ ชั ยเสรี วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๙ ฉบับที่ ๒ เม.ย.-มิ.ย. ๒๕๕๗ ๒.๓ Geodesic dome เปลือกบางชนิดนี้เป็นโครงสร้ างที่มี ลักษณะทรงกลม หรือส่วนของทรงกลม ประกอบด้วย โครงรูปสามเหลี่ยมเล็ก ๆ ต่อเนื่องกันจนเป็นรูปทรง กลม เป็นผลงานของ Prof. Buckminsters Fuller ต่อ มาได้มีการใช้กันแพร่หลาย วัสดุที่ใช้คลุมมักใช้ไฟเบอร์ กลาสส์ แผ่นใยสังเคราะห์ หรือแผ่นโลหะเบา ส่วนมาก ใช้เป็นอาคารถาวรส� ำหรับแสดงนิทรรศการ เช่น ในรูป ที่ ๔๖ เป็น geodesic dome ที่สวนสนุกในรัฐฟลอริดา สหรัฐอเมริกา ๓. แผ่นพื้นกระทง ( waffle slab ) เปลือกบางชนิดนี้เป็นแผ่นพื้นที่มีผิว บนเรียบธรรมดา แต่ข้างใต้มีลักษณะเป็นหลุมเหมือนกับ ควักคอนกรีตหนา ๆ ออก เหลือแต่ครีบ เรียงตัดกันเป็น grid โดยไม่มีคานลึก ๆ พาดกลางห้อง เหมาะส� ำหรับ พื้นกว้าง ๆ แต่มี head room น้อย ในการสร้างแผ่นพื้นกระทง ส่วนที่เสียเวลา มากกว่าแผ่นพื้นธรรมดาคือ ระบบแบบหล่อคอนกรีต เพราะต้องท� ำเป็นกระทงคว�่ ำ บางรายท� ำแบบกระทง ด้วยไม้ตอกกับที่ ซึ่งจะสิ้นเปลืองไม้แบบมากเพราะใช้ รูปที่ ๔๖ Geodesic dome ถ่ายเมื่อมีโอกาสไป ที่รัฐฟลอริดา สหรัฐอเมริกา รูปที่ ๔๔ โครงหลังคา ๓ มิติ ที่วางอยู่บนเสาจริง เรียบร้อยแล้ว รูปที่ ๔๕ ภายในห้อง plenary hall เมื่อยกติดตั้งโครงหลังคาและติดตั้ง อุปกรณ์ต่าง ๆ เสร็จแล้ว รูปที่ ๔๗ ด้านหน้าของตึกคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=