สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

159 สมชาติ โสภณรณฤทธิ์ , สุขวั ฒก์ ธั นธรา, วรุณี เตี ย วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๙ ฉบับที่ ๒ เม.ย.-มิ.ย. ๒๕๕๗ จากตารางที่ ๒ ถ้าเปรียบเทียบค่าพลังงานและปริมาณที่เหลืออยู่ของวัสดุเหลือใช้ทางการ เกษตร พบว่า เชื้อเพลิงฟางข้าวมีศักยภาพพลังงานสูงที่สุด รองลงมาคือเหง้ามันส� ำปะหลัง ราคาวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรที่จะน� ำไปใช้เป็นเชื้อเพลิงผลิตไฟฟ้าแบ่งเป็น ๒ กลุ่ม คือ แบบไม่ต้องผ่านกระบวนการเตรียม ได้แก่ แกลบ เหง้า ใยปาล์ม กะลาปาล์ม และแบบที่ต้องผ่านการเตรียม ได้แก่ ฟางข้าว ยอดใบอ้อย ซังข้าวโพด ทะลายปาล์ม ขั้นตอนการเตรียมเชื้อเพลิงและราคาเชื้อเพลิงก่อน ส่งโรงไฟฟ้า ตามประเภทเชื้อเพลิง แสดงดังตารางที่ ๓ เชื้อเพลิง กระบวนการ ลดขนาด หรือแปรรูป ความชื้น (%) ค่าความร้อนสุทธิ ( MJ/kg ) ความหนาแน่น ( kg/m 3 ) ราคาขายก่อนส่งโรงไฟฟ้า (บาท/ตัน) แกลบ ไม่มี ๑๒.๐๐ ๑๓.๕๑๗ ๑๕๐ ๔๐๐-๑,๔๕๐ (ไม่รวมขนส่ง) [๒] ฟางข้าว อัดก้อน ๑๐.๐๐ ๑๒.๓๓๐ ๖๕.๔๕- ๗๒.๗๓ ๘๐๐-๘๘๘ (ไม่รวมขนส่ง) [๓] ยอดใบอ้อย สับย่อย ๙.๒๐ ๑๕.๔๗๙ ๑๖๗.๔๒ ๒๗๓.๔๖ (ไม่รวมขนส่ง) [๔] ซังข้าวโพด เลี้ยงสัตว์ ป่นรวม เปลือก ๒๐.๐๐ ๑๒.๘๒๐ ๒๕๐ ๕๐๐-๘๕๐/๑,๕๐๐-๒,๐๐๐ (รวมขนส่ง) [๕] เหง้ามัน ไม่มี ๕๙.๔๐ ๕.๔๙๔ ๒๕๐ ๕๑๙.๐๐ (ไม่รวมขนส่ง) [๑] ใยปาล์ม ไม่มี ๓๘.๕๐ ๑๑.๔๐๐ ๒๕๐ ๔๖๗.๑๐ (ไม่รวมขนส่ง) [๑] กะลาปาล์ม ไม่มี ๑๒.๐๐ ๑๖.๙๐๐ ๔๐๐ ๒,๐๗๖ (ไม่รวมขนส่ง) [๑] ทะลายเปล่า บด ๕๘.๖๐ ๗.๒๔๐ ๓๘๐ ๕๐-๕๕ (ไม่รวมขนส่ง) [๒] ตารางที่ ๓ ราคาเชื้อเพลิงก่อนส่งเข้าโรงไฟฟ้า

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=