สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

157 สมชาติ โสภณรณฤทธิ์ , สุขวั ฒก์ ธั นธรา, วรุณี เตี ย วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๙ ฉบับที่ ๒ เม.ย.-มิ.ย. ๒๕๕๗ หมายเหตุ : ก� ำหนดสมมุติฐานว่า เชื้อเพลิงเกิดขึ้นตามรอบการเก็บเกี่ยวจะถูกล� ำเลียงส่งเข้าโรงไฟฟ้า โดยตรง และพิจารณาราคาเชื้อเพลิงเศษวัสดุจากราคาก่อนส่งเข้าโรงไฟฟ้า และราคาค่าขนส่งอ้างอิงจาก ราคากลางค่าการขนส่ง (ตลาดขนส่งออนไลน์, ๒๕๕๓) ผลการวิจัย เทคโนโลยีการผลิตไฟฟ้าจากมวลชีวภาพ จากผลการศึกษาเทคโนโลยีการผลิตไฟฟ้าจากมวลชีวภาพพบว่า ระบบการผลิตส่วนใหญ่ เป็นระบบเผาตรง โดยที่ก� ำลังผลิตติดตั้งอยู่ในช่วง ๑-๔๐๐ MWe ในกรณีที่ใช้เชื้อเพลิงผสม ขนาดโรง ไฟฟ้าสามารถสูงถึง ๑,๕๐๐ MWe ส่วนเทคโนโลยีระบบแกซิฟิเคชัน มีก� ำลังผลิตติดตั้งค่อนข้างต�่ ำ อยู่ใน ช่วง ๐.๐๒๕-๑๒ MWe เช่นเดียวกับระบบการหมักแบบไร้อากาศ ค่าประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้าเพิ่มขึ้น ตามขนาดระบบ เทคโนโลยีการผลิตไฟฟ้าจากมวลชีวภาพของประเทศไทยปัจจุบัน (ส� ำนักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย (สกว.), ๒๕๕๐; ส� ำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน, ๒๕๕๕) ที่มีการผลิตไฟฟ้าจ� ำหน่าย เข้าระบบสายส่งทั้งประเภท VSPP และ SPP เป็นระบบเผาตรง ร้อยละ ๗๘.๒๖ ระบบการหมักแบบไร้ อากาศร้อยละ ๑๑.๖๖ ระบบแกซิฟิเคชัน ร้อยละ ๐.๖๕ และไม่ระบุระบบ ร้อยละ ๙.๔๓ โรงไฟฟ้าที่ใช้ เทคโนโลยีเผาตรง ระบบ Stoker boiler ที่ใช้ condensing steam turbine ขนาดไม่เกิน ๑๐ เมกะวัตต์ จะ มีความเสี่ยงต�่ ำด้านปริมาณเชื้อเพลิงที่ใช้ในการผลิตไฟฟ้า ดังนั้น ในงานวิจัยนี้ การวิเคราะห์เทคโนโลยี การผลิตไฟฟ้าโดยใช้เชื้อเพลิงวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรในประเทศไทยจึงใช้ระบบเผาตรง แบบ Stoker boiler ควบคู่กับ condensing steam turbine ขนาด ๑๐ เมกะวัตต์ ประเภทและราคาของมวลชีวภาพ ประเภทมวลชีวภาพที่เลือกศึกษาในงานวิจัยฉบับนี้คือ วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรที่มีใช้ใน การผลิตไฟฟ้า ได้แก่ แกลบ ฟางข้าว ยอดใบอ้อย ซังข้าวโพด เหง้ามัน ใยปาล์ม กะลาปาล์ม ทะลายปาล์ม ศักยภาพมวลชีวภาพจากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรที่ใช้เป็นเชื้อเพลิงผลิตไฟฟ้าเฉลี่ย พ.ศ. ๒๕๕๐-๒๕๕๔ แสดงดังตารางที่ ๒

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=