สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

การเก็ บรั กษาผั กและผลไม้สดโดยการดั ดแปลงสภาพบรรยากาศ 148 The Journal of the Royal Institute of Thailand Vol. 39 No. 2 April-June 2014 และ ๒) นอกจากนี้ ยังมีการใช้สารดูดซับเอทิลีน ( ethylene absorbent ) แก๊สเอทิลีนเป็นฮอร์โมนพืชที่สร้าง และปล่อยออกมาโดยผักและผลไม้ เอทิลีนนี้เป็นตัวการส� ำคัญที่ท� ำให้ผักและผลไม้เสื่อมคุณภาพอย่าง รวดเร็ว แม้ว่าจะเก็บรักษาที่อุณหภูมิต�่ ำ ในปัจจุบันมีการใช้สาร 1-methylcyclopropene (1-MCP) รมผัก และผลไม้ก่อนการเก็บรักษาโดยวิธี MA และ CA สาร 1-MCP เป็นสารที่ยับยั้งการท� ำงานของเอทิลีน ท� ำให้ผักและผลไม้เสื่อมคุณภาพช้าและมีอายุการเก็บรักษานานขึ้น (ตารางที่ ๓) ตารางที่ ๓ อายุการเก็บรักษาของผลกล้วยหอมทองที่ไม่ได้รับและได้รับ 1-MCP ๑,๐๐๐ พีพีบี ( ppb ) ที่อุณหภูมิ ๒๕ °ซ นาน ๔ ชั่วโมง ก่อนเก็บรักษาในสภาพ MA ที่อุณหภูมิ ๑๔ °ซ (ดัดแปลงจาก Ketsa, 2010 ) วิธีการเก็บรักษา อายุการเก็บรักษา (สัปดาห์) ๑ ชุดควบคุม ( control ) ๒ d 1-MCP ๓ c MA ๖ b 1-MCP+MA ๗ a ๑ ตัวเลขที่ตามด้วยอักษรที่เหมือนกันในแนวตั้ง ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ เมื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยโดยวิธี DMRT ที่ระดับความเชื่อมั่น ร้อยละ ๙๕

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=