สำนักงานราชบัณฑิตยสภา
การเก็ บรั กษาผั กและผลไม้สดโดยการดั ดแปลงสภาพบรรยากาศ 146 The Journal of the Royal Institute of Thailand Vol. 39 No. 2 April-June 2014 ผลไม้ อุณหภูมิ ( o ซ) ปริมาณของแก๊ส (ร้อยละ) ออกซิเจน คาร์บอนไดออกไซด์ กล้วย เงาะ มะม่วง มะละกอ ท้อ ทับทิม พลับ ส้ม สาลี่เอเชีย สาลี่ยุโรป สับปะรด มะนาว ลิ้นจี่ สตรอว์เบอร์รี แอโวคาโด องุ่น ๑๒-๑๖ ๘-๑๕ ๑๐-๑๕ ๑๐-๑๕ ๑-๒ ๕-๑๐ ๐-๕ ๕-๑๐ ๐-๕ ๕-๑๒ ๘-๑๓ ๑๐-๑๕ ๕-๑๒ ๐-๕ ๕-๑๓ ๐-๕ ๒-๕ ๓-๕ ๓-๗ ๒-๕ ๑-๒ ๓-๕ ๓-๕ ๕-๑๐ ๒-๔ ๑-๓ ๒-๕ ๕-๑๐ ๓-๕ ๕-๑๐ ๗-๑๐ ๕-๑๐ ๒-๕ ๗-๑๒ ๕-๘ ๕-๘ ๕-๘ ๕-๑๐ ๕-๘ ๐-๕ ๐-๓ ๐-๓ ๕-๑๐ ๐-๑๐ ๓-๕ ๓-๕ ๑๒-๒๐ ๕-๑๐ ตารางที่ ๒ ปริมาณหรือความเข้มข้นของแก๊สออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ที่เหมาะสมในสภาพ บรรยากาศของการเก็บรักษาผลไม้โดย MA และ CA (ดัดแปลงจาก Kader, 2002 ) ข้อเสียของสภาพบรรยากาศดัดแปลงที่ไม่สามารถควบคุมได้ ๑. สัดส่วนของปริมาณออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ไม่แน่นอน ๒. อาจท� ำให้รสชาติและกลิ่นผิดปรกติได้ การดัดแปลงสภาพบรรยากาศดัดแปลงที่ควบคุมได้ ( CA ) การเก็บรักษาในสภาพบรรยากาศดัดแปลงที่สามารถควบคุมได้จะท� ำให้ปริมาณของออกซิเจน และคาร์บอนไดออกไซด์อยู่ในระดับที่ต้องการตลอดเวลาของการเก็บรักษาผักและผลไม้ การควบคุม บรรยากาศนั้นอาจท� ำโดยควบคุมให้ปริมาณออกซิเจนต�่ ำลง หรือควบคุมให้ปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=