สำนักงานราชบัณฑิตยสภา
135 สิ ริ วั ฒน วงษศิ ริ , สิ ทธิ พงษ วงศวิ ลาศ วารสารราชบัณฑิตยสถาน ป ที่ ๓๙ ฉบับที่ ๒ เม.ย.-มิ.ย. ๒๕๕๗ ผึ้งขนาดเล็ก มีขนาดตัวเล็กกว่าผึ้งที่สร้างรังในโพรง สร้างแบบรวงเดี่ยวบนกิ่งไม้ขนาดเล็กของ ต้นไม้ที่มีทรงพุ่มขนาดเล็กจนถึงขนาดกลาง มี ๒ ชนิด คือ ผึ้งมิ้ม Apis florea ซึ่งมีขนาดตัวใหญ่กว่า ผึ้งม้าน Apis andreniformis เล็กน้อย ท้องปล้องแรกมีสีเหลือง ที่เหลือเป็นปล้องสีด� าสลับขาวชัดเจน มี เขตการแพร่กระจายในแถบประเทศจีนตอนใต้ อินเดียตะวันออก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ส่วนใน ประเทศไทยพบกระจายตัวทั่วทั้งประเทศ แต่ยังไม่มีรายงานการพบผึ้งมิ้มทางตอนใต้ของประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย บอร์เนียว และฟ ลิปป นส์ และผึ้งม้านซึ่งมีลักษณะล� าตัวเล็กกว่าผึ้งมิ้มและมีท้องปล้องแรกสี ด� า ส่วนท้องปล้องที่เหลือเป็นสีขาวสลับด� า ผึ้งม้านเป็นผึ้งที่พบเฉพาะในบริเวณป่าใกล้ภูเขาที่มีความอุดม สมบูรณ์เท่านั้น พบการกระจายตัวทางตอนใต้ของเอเชีย (สิริวัฒน์ วงษ์ศิริ และ สุรีรัตน์ เดี่ยววาณิชย์, ๒๕๕๕; Oldroyd and Wongsiri, 2006 ) รูปที่ ๑๑ การกระจายตัวของผึ้งขนาดเล็กในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ( Oldroyd and Wongsiri, 2006 ) A. florea A. andreniformis
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=