สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

121 ทศพร วงศ์รั ตน์ วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๙ ฉบับที่ ๒ เม.ย.-มิ.ย. ๒๕๕๗ อยู่ที่เพชรบุรี และนึกถึงประสบการณ์ในเรื่องนี้ที่นั่น มากกว่าที่อื่นใด ซึ่งก็ไม่เคยกล่าวถึงที่ไหนอีก ยังมีข้อยืนยันการมาเพชรบุรี ในครั้งแต่ง “กาพย์พระไชยสุริยา” และนิทานพระอภัยมณี ตอนที่ ๔๕ ดังกล่าวมาแล้วอยู่อีกในนิทานเรื่องนี้ หน้า ๑๐๕๘ ของตอนที่ ๕๒ ซึ่งเป็นการมาเมืองนี้ในราว เดือนอ้าย หรือธันวาคม ปีเถาะ พ.ศ. ๒๓๘๕ (ทศพร วงศ์รัตน์, ๒๕๕๒ : ๑-๒๘๘) หรืออีก ๑ ปีต่อมาพอดี ในครั้งแต่ง “นิราศเมืองเพชร” ถวายสมเด็จเจ้าฟ้าจุฑามณี กรมขุนอิศเรศรังสรรค์ ที่ทรงอุปถัมภ์สุนทรภู่ อยู่ขณะนั้น ค� ำกลอนนั้น คือ “แล้วตรัสถามตามท� ำนองถึงสองกษัตริย์ ยังไพบูลย์พูนสวัสดิ์หรือขัดขวาง แต่จากมากว่าปีอันพี่นาง ยังได้ข่าวคราวบ้างหรืออย่างไรฯ” ซึ่ง “พี่นาง” ในที่นี้ก็คือ หม่อมบุนนาค หรือ ฤๅษีแห่งเกาะแก้วพิสดารนั่นเอง เอกสารประกอบการเรียบเรียง คุณสุวรรณ. พระอาการประชวรของกรมหมื่นอัปสรสุดาเทพ. ๒๓๘๖. ทศพร วงศ์รัตน์. พระอภัยมณี... มาจากไหน?. กรุงเทพฯ : บริษัทคอมฟอร์ม จ� ำกัด; ๒๕๕๐. หน้า ๑-๒๙๒. ทศพร วงศ์รัตน์. สุนทรภู่แต่งนิราศพระแท่นดงรังทั้งสองส� ำนวน. วารสารราชบัณฑิตยสถาน ๒๕๕๑; ๓๓ (๑) : ๒๐๑-๒๒๐. ทศพร วงศ์รัตน์. ลายแทงของสุนทรภู่. กรุงเทพฯ : วันทูพริ้นท์; ๒๕๕๒. หน้า ๑-๒๘๘. ทศพร วงศ์รัตน์. สุนทรภู่บอกเหตุน�้ ำท่วมจากพุทธท� ำนาย. กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจ� ำกัด วันทูพริ้นท์; ๒๕๕๔. หน้า ๑-๑๔๔. ทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี, เจ้าพระยา. พระราชพงศาวดารรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๓. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร; ๒๕๔๗. หน้า ๑-๑๙๐. สุนทรโวหาร (ภู่), พระ. โคบุตร. ๒๓๔๙-๒๓๕๐. สุนทรโวหาร (ภู่), พระ. สิงหไกรภพ. ๒๓๖๕-๒๓๖๗. สุนทรโวหาร (ภู่), พระ. พระอภัยมณีค� ำกลอน. ๒๓๖๖-๒๓๘๘. สุนทรโวหาร (ภู่), พระ. นิราศภูเขาทอง. ๒๓๗๓.

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=