สำนักงานราชบัณฑิตยสภา
วั นเดื อนปีที่ สุนทรภู่แต่งงานค�ำกลอนห้าเรื่ อง ระหว่าง พ.ศ. ๒๓๘๔-๒๓๘๕ 112 The Journal of the Royal Institute of Thailand Vol. 39 No. 2 April-June 2014 “โอ้ยามนี้ปีขาลสงสารวัด เคยโสมนัสในอารามสามวัสสา สิ้นกุศลผลบุญการุณา จะจ� ำลาเลยลับไปนับนาน” “ต่างรับสั่งพรั่งพร้อมน้อมประณต จากบรรพตหมายมุ่งไปกรุงไกรฯ สองวันครึ่งถึงเมืองน� ำเรื่องข่าว เฝ้าหน่อท้าวทูลแจ้งแถลงไข” การที่ผู้เขียนคาดเวลาว่าอยู่ในระยะ ๑ สัปดาห์ดังกล่าว เพราะสุนทรภู่คงจะต้องมีแผนที่จะกลับ กรุงเทพฯ จึงได้ปวารณาที่จะอยู่จ� ำพรรษาที่วัด ในต� ำบลและอ� ำเภอสองพี่น้อง ตามค� ำกลอน ใน “ร� ำพัน พิลาป” บทระลึกความหลังว่า “เข้าวัสสามาอยู่ที่สองพี่น้อง” ทั้งนี้เพราะตามพระวินัยเพื่อไม่ให้เกิน ๗ วัน ที่จะพักที่อื่นระหว่างพรรษา แม้จะมีข้อยกเว้นที่อ้างได้ก็ตาม ส่วนในนิทาน “พระอภัยมณีค� ำกลอน” ตอนที่ ๔๘, ๔๙, ๕๑ หน้า ๙๖๗, ๙๙๙, ๑๐๔๑-๑๐๔๒, ๑๐๔๓ ที่แต่งในช่วงเดียวกัน ก็มีกล่าวเป็นรายละเอียดถึงโทษของพี่เลี้ยงที่ติดตาม (คุณสุวรรณ หม่อมสุด หม่อมข� ำ ดังกล่าวมาแล้วเป็นต้น) ที่รู้เห็นเป็นใจกับเหตุการณ์ รวมทั้งนายด่านบ้านปากอ่าว เกาะเกร็ด ที่ต้องรู้ระแคะระคายอยู่บ้าง ว่า “จึงตรัสสั่งทั้งหลายฝ่ายข้าหลวง ให้ทั้งปวงปิดความใครถามหา บอกว่าเราเข้าบ� ำเพ็ญภาวนา ไม่พูดจากว่าจะเสร็จสักเจ็ดวัน” “มนตรีรับอภิวาทมามาตรหมาย ต� ำแหน่งนายเพชฌฆาตอันอาจหาญ ถือดาบแดงแซงสลอนนครบาล เอานายด่านปากน�้ ำมาจ� ำจอง ตัดคาคอข้อมือใส่ขื่อเล็ก สายโซ่เหล็กล่ามรั้งไว้ทั้งสอง พวกตรวจตรัดพัศดีเดินตีฆ้อง สอนให้ร้องโทษฑัณฑ์ที่พันพัว ใครอย่าดูเยี่ยงอย่างข้าคนขบถ คิดเลี้ยวลดลวงกษัตริย์ให้ตัดหัว นายด่านหมายตายแท้สุดแก้ตัว นึกถึงกลัวก็ต้องเฉยไม่เวยวายฯ” “ลงจากแท่นแค้นสี่พระพี่เลี้ยง เรียกมาเคียงค่อนว่าไม่ปราศรัย นั่งอยู่นี่พี่ยามาเมื่อไร ไม่บอกให้แจ้งจิตแกล้งปิดบัง เป็นลมจับหลับอยู่ไม่รู้แจ้ง นี่เนื้อแกล้งจะให้อายเมื่อภายหลัง ให้นอนเคียงเรียงกันบนบัลลังก์ เห็นงามทั้งห้าไร่จะได้ดู คิดว่าดีพี่เลี้ยงก็เพียงพี่ ทีนี้ดีแตกหมดน่าอดสู แกล้งรู้เห็นเป็นใจท� ำไม่รู้ ให้จู่ลู่ลามลวนไม่ควรเป็นฯ” “เจ้าเป็นที่พี่เลี้ยงรู้เยี่ยงอย่าง จึงได้วางพระทัยให้สั่งสอน ถึงพระน้องข้องขัดให้ตัดรอน ควรผันผ่อนเพ็ดทูลมูลิกา
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=