สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

สายชล เกตุษา 71 วารสารราชบัณฑิตยสภา ปีที่ ๔๐ ฉบับที่ ๑ ม.ค.-มี.ค. ๒๕๕๘ ประเทศสิงคโปร์ตามขั้นตอนที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ เริ่มตั้งแต่การขนส่งผลกล้วยที่เก็บเกี่ยวแล้วในรถ ลากจูงจากสวนกล้วยมายังโรงคัดเลือกบรรจุ (รูปที่ ๕ บน) โดยมีการป้องกันไม่ให้ผิวของผลกล้วยได้รับ ความเสียหาย (รูปที่ ๕ ล่าง) หลังจากนั้นก็ช� ำแหละเครือกล้วยแยกเป็นหวีเดี่ยว ๆ วางในบ่อซีเมนต์ขนาดใหญ่ ที่มีน�้ ำเพื่อล้างท� ำความสะอาด (รูปที่ ๖ บน) แล้วช� ำแหละกล้วยแต่ละหวีให้เป็นหวีย่อย ๆ หวีละ ๓-๖ ผล (รูปที่ ๖ ล่าง) เพื่อให้มีจ� ำนวนผลเหมาะสมกับผู้ซื้อหรืออาจจะไม่มีการแบ่งย่อย ท� ำการพ่นสารเคมีที่เป็น สารก� ำจัดและป้องกันเชื้อราที่บริเวณรอยตัดของหวีกล้วย (รูปที่ ๖ ล่าง) ชั่งหวีกล้วยในถาดพลาสติกให้ได้ ประมาณ ๕-๗ กิโลกรัมต่อกล่อง ติดสติกเกอร์ของบริษัทโดลที่หวีกล้วยก่อนบรรจุในกล่องกระดาษ ขั้นตอนสุดท้ายคือการบ่มผลกล้วยในกล่องกระดาษให้สุกได้ระดับสีผิวตามต้องการก่อนส่งไปขายที่ประเทศ สิงคโปร์ รูปที่ ๔ พื้นที่การปลูกกล้วยของบริษัทโดล (Dole Company)

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=