สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

ยานอวกาศโรเซตตาส� ำรวจดาวหาง 64 The Journal of the Royal Society of Thailand Volume 40 Number 1 January-March 2015 ค.ศ. ๒๐๑๔ ๒๐ มกราคม ณ เวลา ๑๐ : ๐๐ UTC ยานถูกปลุกให้ตื่นจากการจ� ำศีล ติดต่อกับสถานีภาคพื้นดิน ผ่านของนาซา เมื่อเวลา ๑๘ : ๑๘ UTC พฤษภาคม – กรกฎาคม ปรับความเร็วของโรเซตตาเพื่อเข้าสู่วงโคจรรอบดาวหาง 67P/C-G โดย การลดความเร็วและระยะห่าง จาก ๗๗๕ เมตร/วินาที เมื่ออยู่ห่างกัน ๒ ล้านกิโลเมตร เป็น ๗.๙ เมตร/ วินาที เมื่ออยู่ห่างกัน ๔,๐๐๐ กิโลเมตร ๑๔ กรกฎาคม อุปกรณ์ออซิริสบนยานได้บันทึกภาพดาวหางเพื่อยืนยันรูปร่างที่ไม่สมมาตร ๖ สิงหาคม ยานโรเซตตาเข้าใกล้ดาวหางในระยะ ๑๐๐ กิโลเมตร ลดความเร็วลงเหลือ ๑ เมตร/ วินาที เริ่มถ่ายภาพดาวหางเพื่อก� ำหนดจุดลงของยานไฟลี ๔ กันยายน ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ที่ส่งมาครั้งแรกจากเครื่องมือ ALICE ของยานโรเซตตา แสดงว่า ใจกลางหัวดาวหางมีสีด� ำผิดปรกติในช่วงคลื่นอัลตราไวโอเลต หัวส่วนในมีธาตุไฮโดรเจนและออกซิเจน ไม่พบ พื้นที่ของน�้ ำกับน�้ ำแข็งบนผิวดาวหาง เป็นที่ทราบทางทฤษฎีมาก่อนว่า น�้ ำ-น�้ ำแข็งมีอยู่ในใจกลางหัวดาวหาง เมื่ออยู่ไกลจากดวงอาทิตย์ และกลายเป็นไอเมื่อเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ ๑๐ กันยายน โรเซตตาเข้าสู่วงโคจรระดับต�่ ำที่ ๓๐ กิโลเมตร เพื่อถ่ายภาพใจกลางหัวดาวหาง พฤศจิกายน ยานไฟลีลงบนผิวดาวหาง พฤศจิกายน ๒๐๑๔ – ธันวาคม ๒๐๑๕ ยานโรเซตตาวนรอบดาวหางและติดตามดาวหางเข้าหา ดวงอาทิตย์ ธันวาคม ๒๐๑๕ สิ้นสุดโครงการโรเซตตา บรรณานุกรม WIKIPEDIA: Rosetta (spacecraft) WIKIPEDIA: 67P/Churyumov-Gerasimenko WIKIPEDIA: Rosetta Stone

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=