สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

ประสิทธิ์ ฟูตระกูล และ นริสา ฟูตระกูล 45 วารสารราชบัณฑิตยสภา ปีที่ ๔๐ ฉบับที่ ๑ ม.ค.-มี.ค. ๒๕๕๘ ดัชนี ระดับครีแอทินิน (มิลลิกรัม/๑๐๐ ซีซี) อัตรากรองสารไต (มิลลิลิตร/นาที/๑.๗๓ ม. ๒ ) ไตเสื่อมระดับ ๓ มากกว่า ๑ ๓๐-๕๙ ไตเสื่อมระดับ ๔ มากกว่า ๑ ๑๕-๒๙ ไตเสื่อมระดับ ๕ มากกว่า ๑ < ๑๕ ตารางที่ ๒ ดัชนีไมโครแอลบูมินเพื่อชี้บ่งภาวะโรคไตอักเสบจากโรคเบาหวาน ดัชนี อัตรากรองสารไต (มิลลิลิตร/นาที/๑.๗๓ ม. ๒ ) Fractional excretion of magnesium (FE Mg%) Peritubular capillary flow (PTCF) (มิลลิลิตร/นาที/๑.๗๓ ม. ๒ ) I ค่าปรกติ ค่า P I:II ๑๑๘ ± ๘ < ๐.๐๕ ๑.๔๕ ± ๐.๔ < ๐.๐๑ ๔๘๓ ± ๔๓ < ๐.๐๐๕ II คนไข้ที่ไม่มี ไมโครแอลบูมิน ค่า P II:III ๙๒ ± ๒๑ < ๐.๐๐๑ ๓.๔ ± ๐.๘ < ๐.๐๐๑ ๓๗๙ ± ๗๐ < ๐.๐๐๑ III คนไข้ที่มี ไมโครแอลบูมิน ๕๖ ± ๓๔ ๖.๖ ± ๒ ๒๗๗ ± ๘๐ อนุสนธิจากข้อมูลหลักฐานเชิงประจักษ์ข้างต้น จะเห็นได้ว่าดัชนีคัดกรองที่ใช้ในเวชปฏิบัติทั่วไป ทั้งค่าครีแอทินินในน�้ ำเลือดและค่าไมโครแอลบูมินในปัสสาวะ ไม่สามารถตรวจจับความผิดปรกติของภาวะ ไตเสื่อมระยะแรกๆ (ระยะ ๑, ๒) แต่พบความผิดปรกติเมื่อไตเสื่อมไปค่อนข้างมากแล้ว นี่เป็นปัจจัยเหตุส� ำคัญ ประการแรกที่น� ำไปสู่ความล้มเหลวในการรักษาป้องกันภาวะไตวายเรื้อรังขั้นสุดท้าย ๒. กลไกส� ำคัญที่ท� ำลายไต ในกระแสเลือดของผู้ป่วยโรคไตทั่วไปมีสารพิษหลายชนิดที่เกิดขึ้นเองจากการเผาผลาญอาหาร และ การรับประทานอาหารที่ไม่ถูกสุขลักษณะ อาทิ สารภูมิคุ้มกันต่าง ๆ สารอนุมูลเสรี และภาวะเครียดจาก การขาดสารต้านอนุมูลเสรี (oxidative stress) สารไซโทไคน์ สารไกลเคชัน ระดับน�้ ำตาลที่สูง หรือภาวะ ไขมันผิดปรกติ สารพิษในกระแสเลือดดังกล่าวจะท� ำลายผนังหลอดเลือด โดยเฉพาะเซลล์บุผิวในหลอดเลือด จุลภาคของไต ท� ำให้เซลล์บุผิวในหลอดเลือดหลุดลอกออกมาในกระแสเลือด (circulating endothelial cell) (นริสา ฟูตระกูล และคณะ, ๒๕๔๖; Futrakul et al., 2006) ซึ่งพบว่ามีค่าสูงผิดปรกติมาก (รูปที่ ๑) นอกจากนี้ยังท� ำให้การท� ำงานของเซลล์บุผิวในหลอดเลือดของหลอดเลือดจุลภาคไตผิดปรกติ อาทิ มีการหลั่ง

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=