สำนักงานราชบัณฑิตยสภา
สมชาย วงศ์วิเศษ และ คณิต อรุณรัตน์ 17 วารสารราชบัณฑิตยสภา ปีที่ ๔๐ ฉบับที่ ๑ ม.ค.-มี.ค. ๒๕๕๘ ภูมิภาค จำ �นวนโรงไฟฟ้า กำ �ลังการผลิตติดตั้ง (เมกะวัตต์) กลาง ๒ ๑๑ ตะวันออก ๒ ๑๒.๒ ตะวันตก ๔ ๒๐.๖ ใต้ ๕ ๔.๓ รวม ๔๒ ๑๑๐ ๓. ศักยภาพพลังงานน�้ ำในประเทศไทย ส� ำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) กล่าวไว้ว่า ประเทศไทยมีศักยภาพการผลิตไฟฟ้า พลังงานน�้ ำถึง ๑๕,๑๕๕ เมกะวัตต์หรือประมาณ ๔ เท่าของก� ำลังการผลิตในช่วงเวลานั้น (Sawangphol and Pharino, 2011: 564–573) ยิ่งไปกว่านั้น ลุ่มน�้ ำหลัก ๒๕ แห่งของประเทศมีศักยภาพการผลิตไฟฟ้า จากโรงไฟฟ้าพลังน�้ ำขนาดเล็กไม่ต�่ ำกว่า ๑,๕๐๐ เมกะวัตต์ (ปรีดา วิบูลย์สวัสดิ์ และสมชาติ โสภณรณฤทธิ์, ๒๕๕๒ : ๑-๖) สถานที่ซึ่งถูกระบุแล้วว่ามีศักยภาพในการพัฒนาเป็นโรงไฟฟ้าพลังน�้ ำขนาดจิ๋วถึงขนาดกลาง มีจ� ำนวนทั้งหมด ๒๕๖ แห่ง มีก� ำลังการผลิตทั้งสิ้น ๓๔๗ เมกะวัตต์ กระจายตัวอยู่ในลุ่มน�้ ำหลัก ๖ แห่ง ได้แก่ ลุ่มน�้ ำปิง ลุ่มน�้ ำวัง ลุ่มน�้ ำยม ลุ่มน�้ ำชี ลุ่มน�้ ำน่าน และลุ่มน�้ ำมูล ลุ่มน�้ ำปิงเพียงแห่งเดียวมีศักยภาพพลังน�้ ำจากโรงไฟฟ้าพลังน�้ ำขนาดเล็กที่มีขนาดใหญ่กว่า ๑๐๐ กิโลวัตต์ รวมทั้งสิ้นประมาณ ๒๑๑ เมกะวัตต์และสามารถผลิตไฟฟ้าได้ ๗๒๐ กิกะวัตต์-ชั่วโมงจาก ๖๔ โครงการ (Supriyasilp et al., 2009: 1866-1875) ลุ่มน�้ ำวังมีศักยภาพจากโรงไฟฟ้าพลังน�้ ำขนาดเล็กประมาณ ๖ เมกะวัตต์และสามารถผลิตไฟฟ้าได้ ๓๐ กิกะวัตต์-ชั่วโมงจาก ๑๙ โครงการ (Supriyasilp et al., 2010) ในขณะที่ลุ่มน�้ ำยมมีโครงการที่มีศักยภาพในการผลิตไฟฟ้าพลังน�้ ำขนาดเล็ก ๔๘ โครงการ โดยมีก� ำลัง การผลิตไฟฟ้าประมาณ ๒๖ เมกะวัตต์และผลิตไฟฟ้าได้ ๑๑๐ กิกะวัตต์-ชั่วโมง (สมชาย มณีวรรณ์ และคณะ, ๒๕๕๒ : ๔๐-๕๐) ปริญญา จินดาประเสริฐ และคณะ (ปริญญา จินดาประเสริฐ และคณะ, ๒๕๕๒ : ๗-๑๗) ได้ศึกษาศักยภาพในการผลิตไฟฟ้าด้วยพลังน�้ ำของลุ่มน�้ ำชีโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ [Geographic Information Systems (GIS)] ร่วมกับหลักการตัดสินใจแบบหลายเกณฑ์ [Multi-criteria Decision Making (MCDM)] พบว่า บริเวณลุ่มน�้ ำชีมีศักยภาพของการผลิตไฟฟ้าพลังน�้ ำขนาดเล็กตั้งแต่ ๕๐ กิโลวัตต์ขึ้นไป รวมทั้งสิ้นประมาณ ๒๓ เมกะวัตต์และสามารถผลิตไฟฟ้าได้ประมาณ ๘๓ กิกะวัตต์-ชั่วโมง Rojanamon
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=