สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

บริเวณตะวันตกเฉียงใต ของประเทศแอลจีเรีย โดยใช โปรแกรมคอมพิวเตอร ซึ่งพัฒนาจากทฤษฎีพลศาสตร ของ ของไหล จากการศึกษาพบว า ปริมาณไฟฟ าที่ได จากเทคโนโลยี SCPP นั้นเพียงพอแก ความต องการในบริเวณที่ ศึกษา และเมื่อไม นานมานี้ Asnaghi และคณะ (Asnaghi and Ladjevardi, 2012: 3338-3390) ได ศึกษา ประสิทธิภาพของ SCPP ในประเทศอิหร าน โดยเลือกบริเวณที่ทําการศึกษาจํานวน ๑๒ แห งด วยกัน ระเบียบ วิธีไฟไนต วอลุมได ถูกนํามาใช ในการวิเคราะห ภายใต สมมุติฐานของการไหลแบบอัดตัวไม ได ของอากาศภายใน SCPP ผลจากการศึกษาพบว า ปริมาณไฟฟ าที่ผลิตได นั้นเพียงพอแก ความต องการในพื้นที่ชนบท นอกจากนี้ ในส วนของบริเวณรวบรวมพลังงานนั้นก็สามารถใช ในการเกษตรได อีกทางหนึ่ง Onyango และคณะ (Onyango and Ochieng, 2006: 2561-2566) ได ศึกษาถึงศักยภาพของเทคโนโลยี SCPP ในเขตพื้นที่ชนบทของกลุ มประเทศ ที่กําลังพัฒนา ซึ่งจากแบบจําลองทางคณิตศาสตร ที่พัฒนาขึ้นพบว า หากใช ปล องลมที่มีความสูง ๑๕๐ เมตร และรัศมี ๑.๕ เมตร พร อมกับความสูงของส วนรวบรวมพลังงาน ๑.๕ เมตร จะสามารถผลิตไฟฟ าได เพียงพอ สําหรับ ๕๐ ครัวเรือนในพื้นที่ชนบท ๓. แบบจําลองทางคณิตศาสตร เนื่องจากขนาดของโครงสร างต นแบบซึ่งสามารถเห็นได ว ามีขนาดที่ใหญ การที่จะศึกษาผลของตัวแปร ต าง ๆ ที่มีผลต อประสิทธิภาพของเทคโนโลยี SCPP หรือศึกษาพฤติกรรมการไหลของอากาศในระบบนั้น หาก จะดําเนินการก อสร างโครงสร างจริงเพื่อจะดําเนินการศึกษาย อมต องใช เงินทุนพอสมควร ดังนั้น การพัฒนา แบบจําลองเชิงตัวเลขที่สามารถจําลองพฤติกรรมได ใกล เคียงกับสภาพความเป นจริงจึงน าจะเป นทางเลือกหนึ่ง ที่น าสนใจ ทั้งนี้ความน าเชื่อถือของแบบจําลองที่พัฒนาขึ้นสามารถตรวจสอบได จากผลการตรวจวัดของ โครงสร างต นแบบที่เมืองมันซานาเรส ( Manzanares ) (Haaf, 1984: 141-161) ระเบียบวิธีคํานวณเชิงวิศวกรรม ได ถูกนํามาใช ในการวิเคราะห ถึงประสิทธิภาพของเทคโนโลยีปล อง ลมแสงอาทิตย โดยใช ความรู ทางด านพลศาสตร ของของไหล (computational fluid dynamics, CFD) ร วมกับ ระเบียบวิธีไฟไนต เอลิเมนต (finite element method, FEM) หรือระเบียบวิธีไฟไนต วอลุม (finite volume method, FVM) แบบจําลองอย างง าย โดยใช ความรู ทางด าน CFD ร วมกับระเบียบวิธี FEM เพื่อนํามาวิเคราะห การไหล ของอากาศในเทคโนโลยี SCPP คือ การไหลแบบหนืดโดยรวมพจน การพาและผลจากอุณหภูมิ ( viscous incompressible thermal flows) ( วิเชียร โสมณวัฒน และ ชินพัฒน บัวชาติ, ๒๕๕๗); (Dechaumphai and Kanjanakijkasem, 1999: 165-172) ซึ่งต องแก ระบบสมการเชิงอนุพันธ นาเวียร -สโตกส ( Navier-Stokes equations) อันประกอบด วยสมการเชิงอนุรักษ มวล สมการเชิงอนุรักษ โมเมนตัมในแนวแกน x และ y และสมการเชิง อนุรักษ พลังงาน ผลของอุณหภูมิที่นํามาวิเคราะห นั้นจะถูกรวมเข าไปในสมการเชิงอนุรักษ โมเมนตัม โดยอาศัย สมการการประมาณค าของบูสซิเนสก ( Boussinesq approximation) ซึ่งอาศัยหลักการที่ว า อากาศที่มีอุณหภูมิสูง นั้นจะลอยตัวสูงขึ้นและจะลอยตัวต่ําลงเมื่ออุณหภูมิของอากาศลดลง จากที่กล าวมาข างต นสามารถนํามาเขียน เป นสมการควบคุมการไหล (governing equation) ดังแสดงข างล างนี้ 0 = ∂ ∂ + ∂ ∂ y v x u (1) ( ) ) ( 1 0 TT g y x y uv x uu x yx x − − + ∂ ∂ + ∂ ∂ =      ∂ ∂ + ∂ ∂ β ρ τ σ ρ (2a)

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=