สำนักงานราชบัณฑิตยสภา
ประเด็นเชิงนโยบายส� ำหรับการจัดการขยะเทศบาลและขยะมหาวิทยาลัย 120 The Journal of the Royal Society of Thailand Volume 40 Number 1 January-March 2015 ๔. ในกรณีที่มีปริมาณขยะมากว่า ๑๐๐ ตันต่อวัน หรือมากกว่า ๓๐๐ ตันต่อวัน จะยิ่งดี ควร พิจารณาการน� ำขยะมาใช้ผลิตไฟฟ้า โดยใช้เทคโนโลยีการเผาไหม้ เพื่อผลิตไอน�้ ำ ส� ำหรับน� ำมาผลิตไฟฟ้า เพราะเป็นเทคโนโลยีที่น่าเชื่อถือและเป็นที่ยอมรับ ๕. ปัจจุบันส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้าจากขยะมีค่าเท่ากับ ๒.๕๐ บาท ต่อกิโลวัตต์ชั่วโมง หาก ก� ำหนดให้สูงกว่านี้ แต่ไม่ให้สูงเกินกว่าของไฟฟ้าจากพลังงานลม น่าจะช่วยกระตุ้นให้เกิดการลงทุนได้ มากกว่าที่มีอยู่ในปัจจุบัน ๖. ปรับปรุงกฎระเบียบส� ำหรับการขอจัดตั้งโรงไฟฟ้าจากขยะให้สะดวกขึ้น บรรณานุกรม จิตเทพ ประสิทธิ์อยู่ศีล. ๒๕๕๗. การพัฒนาการจัดการขยะแบบบูรณาการส� ำหรับชุมชนมหาวิทยาลัย. รายงานวิจัยฉบับ สมบูรณ์ จัดส่งส� ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. ทนงเกียรติ เกียรติศิริโรจน์. ๒๕๕๕. การสาธิตการเปลี่ยนขยะในมหาวิทยาลัยเป็นพลังงานในรูปความร้อน. รายงานวิจัย ฉบับสมบูรณ์ จัดส่งส� ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. วัสสา คงนคร. ๒๕๕๕. แนวทางการจัดการขยะมูลฝอยแบบครบวงจรและการมีส่วนร่วมของชุมชนในเขตพื้นที่เทศบาล เมืองท่าข้าม จังหวัดสุราษฎร์ธานี. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ จัดส่งส� ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. วีรชัย อาจหาญ. ๒๕๕๔. การศึกษาแนวทางบริหารจัดการขยะชุมชนเพื่อใช้เป็นพลังงานทดแทนแบบครบวงจร. รายงาน วิจัยฉบับสมบูรณ์ จัดส่งส� ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. สมรัฐ เกิดสุวรรณ. ๒๕๕๕. การน� ำร่องการจัดการขยะระดับองค์กรบริหารส่วนต� ำบล. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ จัดส่ง ส� ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. สมศักดิ์ พิทักษานุรัตน์. ๒๕๕๗. โครงการต้นแบบการจัดการขยะมูลฝอยแบบบูรณาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. รายงาน วิจัยฉบับสมบูรณ์ จัดส่งส� ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. สุขสมาน สังโยคะ. ๒๕๕๔. แผนการบริหารจัดการขยะที่เหมาะสมของชุมชน : กรณีศึกษาเทศบาลต� ำบลในเมือง อ� ำเภอ พิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ จัดส่งส� ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. อาณัติ ต๊ะปินตา. ๒๕๕๕. การจัดการขยะภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาอย่างครบวงจรและเหมาะสม. รายงาน วิจัยฉบับสมบูรณ์ จัดส่งส� ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=