สำนักงานราชบัณฑิตยสภา
อานนท์ บุณยะรัตเวช และ มลนิภา ศิลาอาสน์ 97 วารสารราชบัณฑิตยสภา ปีที่ ๔๐ ฉบับที่ ๑ ม.ค.-มี.ค. ๒๕๕๘ ๒. น�้ ำบริสุทธิ์สูง (ultrapure water) คือน�้ ำที่ผ่านวิธีก� ำจัดแร่ธาตุและสารปนเปื้อนด้วยระบบ reverse osmosis (RO) ใช้วิธีกรองน�้ ำผ่านเยื่อกรองที่มีรูเล็กมาก ขนาด ๐.๐๐๐๑ มิลลิเมตร สามารถ ก� ำจัดสารเคมีธาตุหนัก และเชื้อจุลินทรีย์ได้ น�้ ำชนิดนี้มีค่าการน� ำไฟฟ้าต�่ ำกว่าน�้ ำกลั่นประมาณ ๒๐๐ เท่า และมีความต้านทานไฟฟ้าสูง ๓. น�้ ำกลุ่มโมเลกุลเล็ก (small molecular cluster water) เป็นน�้ ำที่มีการเปลี่ยนสมบัติของ น�้ ำสะอาดธรรมดา โดยการใช้เทคโนโลยีการเรโซแนนซ์คลื่นสนามแม่เหล็กความถี่ต�่ ำที่ ๗.๘ Hz (Magnetic Resonance Effect Technology, MRET) ท� ำให้องศาการท� ำมุมของสองแขนระหว่างออกซิเจนกับไฮโดรเจน เปลี่ยนไป ซึ่งมีผลต่อการจับกลุ่มของโมเลกุลน�้ ำ คือ ๑ กลุ่ม (๑ cluster) จากเดิมมี ๑๐-๑๓ โมเลกุล เหลือเพียง ๖-๘ โมเลกุลต่อ ๑ กลุ่ม ท� ำให้กลุ่มโมเลกุลน�้ ำเล็กลง การทดลองนี้ใช้เซลล์เม็ดเลือดขาวชนิด ลิมโฟไซต์มาเพาะเลี้ยงในห้องปฏิบัติการโดยใช้น�้ ำยาเพาะเลี้ยงเซลล์ที่เตรียมจากน�้ ำที่น� ำมาทดสอบ ทั้ง ๓ ชนิดนี้ แล้วติดตามการเข้าสู่ภาวะการแบ่งตัวของเซลล์แบบไมโทซิส (mitosis) ในระยะต่าง ๆ โดย การดูโครงสร้างโครโมโซม (chromosome) ในระยะที่ DNA แยกตัวออกเป็น ๒ กลุ่ม คือ telophase จาก การทดลองพบว่า น�้ ำบริสุทธิ์สูงและน�้ ำกลั่นกระตุ้นเซลล์ลิมโฟไซต์ให้เข้าระยะ telophase ได้เร็วและถี่ โดยมีการเข้าระยะ telophase ถึง ๓ ครั้งในระยะเวลาการเลี้ยงเซลล์ ๔ วัน โดยที่เซลล์ลิมโฟไซต์ใน น�้ ำบริสุทธิ์สูงเข้าสู่ระยะ telophase ได้เร็วกว่าเซลล์ในน�้ ำยาเลี้ยงเซลล์ที่เตรียมจากน�้ ำกลั่น ส่วนเซลล์ลิมโฟไซต์ ที่เพาะเลี้ยงโดยใช้น�้ ำกลุ่มโมเลกุลเล็กมีการปรับสมดุลเซลล์ลิมโฟไซต์ทั้งหมดให้เตรียมเข้าสู่การแบ่งตัว ได้พร้อม ๆ กัน และเซลล์ส่วนใหญ่เกือบทั้งหมดเข้าสู่ระยะ telophase ในวันที่สี่ของการเพาะเลี้ยงเซลล์ ผลจากการทดลองแสดงให้เห็นว่า แม้จะใช้น�้ ำสะอาดเหมือนกัน แต่การตอบสนองของเซลล์อาจแตกต่างกันได้ การตอบสนองเหล่านี้มีผลต่อร่างกายที่แตกต่างกัน คือ น�้ ำกลั่นและน�้ ำบริสุทธิ์สูงกระตุ้นให้เซลล์เม็ดเลือด ชนิดลิมโฟไซต์แบ่งตัวเร็วแบบ “กระพือ” คือ เกิดหลายรอบภายในช่วง ๔ วัน ส่วนน�้ ำกลุ่มโมเลกุลเล็ก กระตุ้นในลักษณะ “ประสานกลมกลืน” คือ มีการแบ่งตัวครั้งเดียวภายในช่วง ๔ วัน โดยมีการปรับ กระบวนการท� ำงานในกระบวนการแบ่งตัวของเซลล์ทั้งหมดให้มีความประสานสอดคล้องสัมพันธ์กัน สังเกตได้ในช่วง ๓ วันแรก แทบจะไม่พบว่ามีเซลล์เข้าในระยะ telophase จนกระทั่งในวันที่ ๔ เซลล์เกือบ ทั้งหมดเกิดการแยกตัวของโครโมโซมพร้อม ๆ กันอย่างประสานสอดคล้องสัมพันธ์กัน เนื่องจากเซลล์เม็ด เลือดชนิดลิมโฟไซต์ท� ำหน้าที่ด้านภูมิคุ้มกันให้แก่ร่างกาย การตอบสนองต่อน�้ ำต่างชนิดในการแบ่งตัว ที่มีแบบรูป (pattern) แตกต่างกันจึงเป็นเรื่องที่น่าสนใจว่าจะมีแง่มุม ผลดีแตกต่างกันอย่างไร ผู้เขียน ยังไม่อาจวิจารณ์ล่วงหน้าได้ นอกจากต้องท� ำการวิจัยหาข้อมูลกันต่อไป หากได้ข้อมูลใหม่เพิ่มเติมจะน� ำมา เขียนรายงานให้ทราบในโอกาสหน้า
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=