สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

ค� ำถามเกี่ ยวกั บทั ณฑมาต 30 The Journal of the Royal Society of Thailand Vol. 40 No. 2 Apr-June 2015 ...ใช้จุดบอดข้างล่างอักษรเป็นเครื่องหมายพยัญชนะไม่ได้อิงสระ... เลิกใช้ไม้วัญฌการ ไม้ยามการ แลไม้ผัดเสียฯ ...แบบนี้ต่อไปจักเรียกว่า แบบพินทุฯ ตามแบบนี้อักษรแลดูเกลี้ยงเกลา ไม่รกตา ทั้งไม่ต้องแก้มาก... จึงตกลงว่าจักใช้แบบพินทุในหนังสือหลักสูตรแห่งการเรียนพระปริยัติธรรม ต่อไปฯ ค� ำถามต่าง ๆ เกี่ยวกับทัณฑฆาตดังกล่าวมาสะท้อนความจริงที่ว่า ทัณฑฆาตเป็นเครื่องหมาย ที่วิวัฒนามายาวนาน ชื่อเครื่องหมายและหลักเกณฑ์การใช้อาจเปลี่ยนแปลงไปได้ตามยุคสมัย เอกสารอ้างอิง ก� ำชัย ทองหล่อ. ๒๕๐๗. หลักภาษาไทย. พิมพ์ครั้งที่ ๒. พระนคร : รวมสาส์น. จดหมายเหตุ รัชกาลที่ ๓ เล่ม ๒. ๒๕๓๐. กรุงเทพฯ : สหประชาพาณิชย์. จ� ำนงค์ ทองประเสริฐ, ๒๕๔๔. พระอัจฉริยภาพของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวด้านภาษาไทย . พิมพ์ในงานพระราชทานเพลิงศพพระครูบริหารสรวัฒน์ (บก ปญฺญาโน) ณ เมรุวัดศรีอุทัย สระบุรี. จินดามณี ฉบับหมอบรัดเล. พิมพ์ครั้งที่ ๔, ๒๕๔๙. กรุงเทพฯ : โฆษิต. ฉ�่ ำ ทองค� ำวรรณ. ๒๕๑๔. หลักภาษาเขมร . พิมพ์ครั้งที่ ๒. พระนคร : ราชบัณฑิตยสถาน. ท� ำเนียบนาม ภาค ๑. ๒๕๕๖. พิมพ์ในงานพระราชทานเพลิงศพนายสุชาติ ชูชัยยะ ณ เมรุวัดมกุฏกษัตริยาราม- ราชวรวิหาร กรุงเทพฯ. นววรรณ พันธุเมธา. ๒๕๕๑. ภาษาไทยน่าศึกษาหาค� ำตอบ . กรุงเทพฯ : ส� ำนักวิชาการและมาตรฐาน การศึกษา สถาบันภาษาไทย. พระราชพงษาวดาร ฉบับพิมพ์ ร.ศ. ๑๒๐. พิมพ์ครั้งที่ ๒. ๒๕๕๐. กรุงเทพฯ : สมาคมประวัติศาสตร์ ในพระบรมราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. ๓ เล่ม. มงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. ๒๕๑๓. หัวใจนักรบ. พิมพ์ครั้งที่ ๑๑. กรุงเทพฯ : องค์การค้า ของคุรุสภา. ราชกิจจานุเบกษาในรัชกาลที่ ๔. พิมพ์ครั้งที่ ๕, ๒๕๔๐. กรุงเทพฯ : ต้นฉบับ. ราชบัณฑิตยสถาน. ๒๕๕๖. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔. กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์. . ๒๕๕๑. หลักเกณฑ์การใช้เครื่องหมายวรรคตอนและเครื่องหมายอื่น ๆ หลักเกณฑ์ การเว้นวรรค หลักเกณฑ์การเขียนค� ำย่อ ฉบับราชบัณฑิตยสภา. พิมพ์ครั้งที่ ๗. กรุงเทพฯ : อรุณการพิมพ์.

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=