สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

127 อั ศนี ย์ ชูอรุณ วารสารราชบัณฑิตยสภา ปีที่ ๔๐ ฉบับที่ ๒ เม.ย.-มิ.ย. ๒๕๕๘ ซึ่งมีศัพท์บัญญัติว่า ศิลปศึกษา อ่านว่า”สินละปะสึกสา” และไม่ได้สะกดว่า ศิลปะศึกษา art criticism ซึ่งมีศัพท์บัญญัติว่า ศิลปวิจารณ์ อ่านว่า “สินละปะวิจาน” และไม่ได้สะกดว่า ศิลปวิจารณ์ ค� ำศัพท์ ศิลปบ� ำบัด จึงน่าจะเหมาะสมที่สุดจะใช้ส� ำหรับค� ำศัพท์ art therapy ด้วยเหตุผลที่พอ จะสรุปได้ว่า (๑) ศิลปบ� ำบัด เป็นค� ำศัพท์ที่ล้อกับโครงสร้างศัพท์ตามหลักไวยากรณ์บาลีและสันสกฤตในแบบ ค� ำสมาส ซึ่งแม้ว่าค� ำ บ� ำบัด จะเป็นค� ำไทย แต่ในวงการอุดมศึกษาได้น� ำค� ำนี้สร้างศัพท์บัญญัติในแบบ ค� ำสมาสมาแล้วหลายศัพท์และใช้กันในวงการอุดมศึกษามานานแล้ว เช่น ชีวบ� ำบัด เคมีบ� ำบัด โภชนบ� ำบัด เภสัชบ� ำบัด รังสีบ� ำบัด กายภาพบ� ำบัด จิตบ� ำบัด อาชีวบ� ำบัด สรีรบ� ำบัด (๒) ศิลปบ� ำบัด เป็นค� ำศัพท์ที่แสดงให้เห็นว่ามีค� ำ บ� ำบัด เป็นค� ำหลัก และค� ำ ศิลปะ เป็นค� ำขยาย ท� ำให้มีความหมายว่า การบ� ำบัดด้วยศิลปะ ตรงตามความหมายของศัพท์ art therapy เทียบเคียงได้กับ ศัพท์อื่นที่ใช้ในวงการอุดมศึกษาอยู่แล้ว ซึ่งมีค� ำ ศิลปะ เป็นค� ำขยาย เช่น ค� ำ ศิลปศึกษา(art education) ซึ่งมีความหมายว่า การศึกษาทางศิลปะ ค� ำ ศิลปวิจักษ์ (art appreciation) ซึ่งมีความหมายว่า การวิจักษ์ (ความซาบซึ้ง) ทางศิลปะ ค� ำ ศิลปวิจารณ์ (art criticism) ซึ่งหมายความว่า การวิจารณ์ศิลปะ ดังนั้น คณะกรรมการจัดท� ำพจนานุกรมศัพท์ศิลปะ อังกฤษ-ไทย จึงมีมติบัญญัติศัพท์ art therapy ว่า ศิลปบ� ำบัด ซึ่งหมายถึง “การบ� ำบัดด้วยศิลปะ” ตรงตามความหมายของค� ำศัพท์ art therapy ทุกประการ ค� ำศัพท์ ศิลปบ� ำบัด จะปรากฏใน พจนานุกรมศัพท์ศิลปะ อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสภา ที่จะจัดพิมพ์ครั้งต่อไป เพื่อให้นักศึกษา นักวิชาการ และผู้สนใจในเรื่อง art therapy มีศัพท์บัญญัติใช้ใน การเขียนเอกสารเป็นภาษาไทยต่อไปเป็นส� ำคัญ อันจะช่วยให้วงการ art therapy หรือ ศิลปบ� ำบัด ใน ประเทศไทยเป็นที่สนใจกันอย่างกว้างขวางมากขึ้น. เอกสารอ้างอิง ราชบัณฑิตยสถาน. (๒๕๕๖). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน. ส� ำนักมาตรฐานอุดมศึกษา ส� ำนักงานปลัดทบวงมหาวิทยาลัย. (๒๕๔๗). ประมวลศัพท์บัญญัติอุดมศึกษา. กรุงเทพฯ : ส� ำนักงานปลัดทบวงมหาวิทยาลัย. Lexicon. (1996). The New Lexicon Webster’s Dictionary of the English Language . Danbury, CT: Lexcon Publications, Inc. www.arttherapyblog.com เข้าถึงเมื่อ 18/7/2558.

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=