สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

จาก art therapy ถึ ง ศิ ลปบ�ำบั ด 124 The Journal of the Royal Society of Thailand Vol. 40 No. 2 Apr-June 2015 ความเข้าใจมากขึ้น และมีความสนุกเพลิดเพลินกับการท� ำงานศิลปะ” (Art therapy is the therapeutic use of art making, within a professional relationship, by people who experience illness, trauma or challenges in living, and by people who seek personal development. Through creating art and reflecting on the art products and processes, people can increase awareness of self and others, cope with symptoms, stress and traumatic experiences; enhance cognitive abilities; and enjoy the life-affirming pleasures of making art.) (www.arttherapyblog.com) . บทนิยามนี้พอจะสรุปความได้ว่า art therapy เป็นการบ� ำบัดด้วยการให้ผู้ป่วยได้ ท� ำงานศิลปะ เช่น วาดภาพ ปั้นรูป ท� ำให้ผู้ป่วยได้ผ่าน กรรมวิธีทางศิลปะ เช่น การวาดภาพสีชอล์ก การปั้นดินน�้ ำมัน และได้ ผลงานศิลปะ ออกมา โดยไม่ได้มุ่งที่ทักษะ ฝีมือทางศิลปะ ของผู้ป่วยแต่อย่างใด สรุปความว่าเป็น การบ� ำบัดด้วยศิลปะ ในความหมายเช่นนี้จะบัญญัติศัพท์ art therapy ว่า ศิลปะบ� ำบัด หรือ ศิลปกรรม บ� ำบัด จึงไม่น่าจะถูกต้อง ค� ำศัพท์ art therapy ประกอบด้วยค� ำ therapy ซึ่งเป็นค� ำหลัก กับค� ำ art ซึ่งเป็นค� ำขยาย ค� ำ therapy มีความหมายว่า “การบ� ำบัดรักษาอาการป่วยทางกายหรือทางจิตโดยการใช้วิธีทางอายุรเวท” (n. the treating of the physically or mentally ill by therapeutic means (Lexicon,1995: 1025) ตรงกับค� ำว่า บ� ำบัด ในภาษาไทย ซึ่งมีความหมายว่า “ก. ท� ำให้คลาย, ท� ำให้หาย, เช่น บ� ำบัดทุกข์, ท� ำให้ ทุเลาลง เช่น บ� ำบัดโรค” (พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ๒๕๕๔ : ๖๗๒) ส่วนค� ำว่า art มีความหมายหลายอย่างดังนี้ “การใช้จินตนาการท� ำสิ่งต่าง ๆ อันมีลักษณะทางสุนทรีย์ II กลวิธีที่เกี่ยวข้องกับการท� ำสิ่งต่าง ๆ อันมีลักษณะทางสุนทรีย์ II สาขาหนึ่งของงานประเภทวิจิตรศิลป์ II วัตถุที่ศิลปินนักสร้างสรรค์ท� ำขึ้นมา II ขอบเขตงานที่ใช้ฝีมือซึ่งมีความคิดสร้างสรรค์ เช่น ฝีมือซึ่งมีความ คิดสร้างสรรค์ในการต่อเรือหรือฝีมือในด้านอื่น ๆ, ทักษะการพูดเท็จ II สาขาหนึ่งของการศึกษาทางด้าน มนุษยศาสตร์ แยกกันชัดเจนกับทางด้านวิทยาศาสตร์ II ทักษะฝีมือ, เล่ห์เพทุบาย II สาขาวิชาหนึ่งของ การศึกษาที่เน้นทางพื้นฐานด้านวัฒนธรรม” (n. the use of the imagination to make things of aesthetic significance || the technique involved || one of the fine arts || objects made by creative artists || a sphere in which creative skill is used , the art of shipbuilding or other skill, the art of lying || one of the humanities (as distinct from science) || artifice, wiles || one of the liberal arts) (Lexicon, 1995: 52)

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=