สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

รอยร้าวในบ้านประเภทต่าง ๆ ที่ น่าสนใจ 142 The Journal of the Royal Society of Thailand Vol. 41 No. 1 January-March 2016 ๒. รอยร้าวที่กลางคาน มีลักษณะเป็นรอยร้าวตามแนวตั้งฉากกับคานอยู่บริเวณกลางคาน รอยร้าวมักจะเกิดขึ้น ทั้ง ๓ ด้านของตัวคาน อาการแบบนี้แสดงว่าคานรับน�้ ำหนักมากเกินไปจนโก่งงอ (น�้ ำหนักทับข้างบน ที่ชั้นบน) ซึ่งอาจเกิดจากการออกแบบเปลี่ยนวัสดุปูพื้นข้างบนให้หนักขึ้น หรือไปท� ำก� ำแพงทับ ให้เกิด line load หรือจัดวางของหนัก ๆ ไว้ตรงนั้น การแก้ไขก็คือ ต้องรีบเอาน�้ ำหนักออกก่อนที่เหล็กในคานจะ “คราก” เมื่อเอาน�้ ำหนักออก แล้ว ส่วนใหญ่รอยร้าวตรงนี้จะกลับประสานกัน เหลือเป็นรอยเส้นเล็กนิดเดียว แต่หากเอาน�้ ำหนักออก แล้ว รอยแตกไม่กลับมาเหมือนเดิม ก็ต้องปรึกษาวิศวกร อย่าเอาเสาอะไรไปตู๊ไว้ เพราะพฤติกรรมของแรง ในคานจะเปลี่ยนไปหมด อาคารอาจจะวิบัติได้

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=