สำนักงานราชบัณฑิตยสภา
การปฏิ บั ติ เศรษฐธรรมเพื่อส่งเสริ มการพั ฒนาเศรษฐกิ จ 414 The Journal of the Royal Society of Thailand Vol. 41 No. 2 April-June 2016 รู้จักพอเพียงพอประมาณ รู้จักสร้างภูมิคุ้มกันให้ตนเอง สนใจแสวงหาความรู้และมีคุณธรรม มีความซื่อสัตย์ สุจริต รักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ มีความรู้ความเข้าใจในการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ที่พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความกระตือรือร้นในการท� ำงานประกอบอาชีพ เพื่อสร้างรายได้ สร้างความสุขให้ชีวิตในโลกปัจจุบัน ไม่เป็นคนที่นิ่งเฉยปล่อยวางทุกสิ่ง ไม่สนใจที่จะแก้ปัญหาใด ๆ ที่ เกิดขึ้นในชีวิตปัจจุบัน เอาแต่ท� ำบุญสวดมนต์ภาวนาเพื่อรอขึ้นสวรรค์ในชาติหน้า ซึ่งจะไม่เป็นประโยชน์ ใด ๆ แก่ตัวเองในชีวิตปัจจุบันและแก่ประเทศชาติที่ก� ำลังต้องการคนหรือทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพ และมีความกระตือรือร้นในชีวิตมาช่วยพัฒนาประเทศในทุก ๆ ด้าน เพื่อให้มีความเจริญทัดเทียมนานา อารยประเทศ การปฏิบัติเศรษฐธรรมอย่างแพร่หลาย จะมีส่วนช่วยให้ประเทศไทยมีทรัพยากรมนุษย์ ที่มีคุณภาพ มีความรู้ความเข้าใจและมีความกระตือรือร้นในการพัฒนาตนเอง และพัฒนาสังคม พัฒนาศาสนาและพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศได้. บรรณานุกรม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. ค่านิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการตามนโยบายของ คสช. สืบค้นหา http://www.mnre.go.th/ewt-news.php?nid=3230 26/2/59 14:51 หน้า ๑ จาก ๑. ไกรวิท วงศ์อามาตย์. เบญจศีล-เบญจธรรม. สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม อริยะธรรม http://sassanpor4. com/th/ สืบค้นจาก http://www.sammajivasil.net/noble.htm 26/2/59 14:55 คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง ส� ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจ หน้า ๑ จาก ๔ และสังคมแห่งชาติ เศรษฐกิจพอเพียง http://www.sto.deu.ac.th/s-emean-th.html จุฑามาศ วารีแสงทิพย์. การฟื้นฟูคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายด้วยธรรมปฏิบัติ . วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญาพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พุทธศักราช ๒๕๕๒ พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตโต). ลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา. วัดญาณเวศกวัน อ� ำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม : โรงพิมพ์เจริญดีมั่นการพิมพ์ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๘. ไพเสริฐ ธรรมานุธรรม. สิ่งที่ชาวพุทธส่วนมากไม่รู้และแนวทางปฏิบัติ มหาสติปัฏฐาน ๔ เบื้องต้น. บริษัท แซมโฟร์ พริ้นติ้ง จ� ำกัด กันยายน ๒๕๕๔.
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=