สำนักงานราชบัณฑิตยสภา
การปฏิ บั ติ เศรษฐธรรมเพื่อส่งเสริ มการพั ฒนาเศรษฐกิ จ 402 The Journal of the Royal Society of Thailand Vol. 41 No. 2 April-June 2016 บทสวดมนต์ในการปฏิบัติเศรษฐธรรม บทสวดมนต์ในการปฏิบัติเศรษฐธรรมจะใช้ภาษาไทยในการสวด เพื่อให้ผู้สวดมนต์ได้มีความรู้ ความเข้าใจ ในสิ่งที่ตนสวดมนต์ภาวนาอยู่ได้ชัดเจน ประกอบด้วย ๑. ค� ำกราบพระรัตนตรัย อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา พระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นพระอรหันต์ ดับเพลิงกิเลส เพลิงทุกข์สิ้นเชิง ตรัสรู้ชอบโดย พระองค์เอง พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ ข้าพเจ้าอภิวาทพระผู้มีพระภาคเจ้า ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน อริยสัจ ๔ หรือความจริง อันประเสริฐ เป็นค� ำสั่งสอนของพระผู้มีพระภาคเจ้า ที่ท� ำให้ผู้เข้าถึง กลายเป็นอริยะมีอยู่ ๔ ประการ คือ ๑. ทุกข์ ได้แก่ ความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ ๒. สมุทัย ได้แก่ สาเหตุของทุกข์ คือ ตัณหา หรือ ความอยาก ๓. นิโรธ ได้แก่ ภาวะที่ปราศจากทุกข์ หรือนิพพาน ๔. มรรค ได้แก่ วิธีดับทุกข์ หรือ วิธีแก้ปัญหา โดยยึดหลักมัชฌิมาปฏิปทา หรือ การปฏิบัติตนในทางสายกลาง ไม่ปฏิบัติตนให้สุดโต่ง หรือ การปฏิบัติตนในด้านใดด้านหนึ่ง ไม่ให้ตึงไปด้านใดด้านหนึ่ง ทั้งทางด้านการหลงใหลในกามคุณหรือการ บ� ำเพ็ญทุกข์ให้ร่างกายได้รับความทุกข์ทรมาน เพราะคิดว่าเป็นหนทางแห่งการหลุดพ้น หนทางดับทุกข์ด้วยหลักมัชฌิมาปฏิปทา ได้แก่ มรรคองค์ ๘ คือ ๑. สัมมาทิฐิ เห็นชอบ ๒. สัมมาสังกัปปะ คิดชอบ ๓. สัมมาวาจา พูดชอบ ๔. สัมมากัมมันตะ กระท� ำชอบ ๕. สัมมาอาชีวะ เลี้ยงชีพชอบ ๖. สัมมาวายะมะ เพียรชอบ ๗. สัมมาสติ ระลึกชอบ ๘. สัมมาสมาธิ ตั้งจิตมั่นชอบ
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=