สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

33 สิ ทธิ์ บุตรอิ นทร์ วารสารราชบัณฑิตยสภา ปีที่ ๔๑ ฉบับที่ ๒ เม.ย.-มิ.ย. ๒๕๕๙ อย่างเช่น แนวทางการแสวงหาเครื่องกินอยู่หลับนอน เครื่องนุ่งห่ม การสืบพันธุ์ การท� ำงาน ความเกี่ยวดอง ทางสังคม ขนบธรรมเนียม จารีตประเพณี ต้องตามแนวทาง ระบบคุณค่า-ค่านิยมต่าง ๆ หลากหลายรูปแบบ ลักษณะ ระดับและสิ่งมุ่งหวัง ความเป็นสัตว์วัฒนธรรมที่มนุษย์ปรุงแต่งขึ้นนี้ ท� ำให้มนุษย์ต้องพัฒนาวิถีชีวิต ทั้งด้าน วัตถุธรรม และ คติธรรม เพื่อสนองความจ� ำเป็นความต้องการและความมุ่งหวังอันจ� ำกัดขอบเขต มิได้ในชีวิต ทั้งระดับพื้นฐานและระดับเสริมต่อ ทั้งยังท� ำให้มนุษย์มีความเหมือนในกลุ่มของตนและแตก ต่างจากกลุ่มอื่น ๆ ทั้งที่เป็นมนุษย์ด้วยกันแท้ ๆ อาศัย วัฒนธรรมการศึกษาเรียนรู้ มนุษย์ได้ค่อย ๆ พัฒนา ศักยภาพและความสามารถในการประดิษฐ์คิดค้นสร้างสรรค์ (และหรือท� ำลาย) ค้นพบคุณค่า สร้างคุณค่า ให้คุณค่าและความหมาย ความส� ำคัญ แก่ความเป็นมนุษย์เอง และแก่สิ่งเกี่ยวกับมนุษย์ ส่งผลให้มนุษย์ ทรงอ� ำนาจและพลานุภาพเบียดเบียนธรรมชาติและอยู่เหนือสัตว์อื่นที่ยังคงครองชีวิตอยู่แบบเดิม ๆ ในระดับธรรมชาติเดิม ๆ และโดยสัญชาตญาณล้วน ๆ มิติชีวิตระดับน� ำพาด้วยคุณค่า ความหมาย และ ความส� ำคัญ ผ่านกระบวนการศึกษาเรียนรู้ของมนุษย์นั้นเอง สัตว์ชนิดมนุษย์ จึงได้รับขนานนามเป็น สัตว์วัฒนธรรม -คุณค่า หลักการ และแนวทาง ให้ได้มาซึ่ง ความเจริญรุ่งเรือง ในวิถีชีวิตตามกระบวน พัฒนาการและวิวัฒนาการของการครองชีวิต ด� ำรง และด� ำเนินวิถีชีวิตของมนุษย์ ก� ำหนดบริหารจัดการ และรับผิดชอบโดยมนุษย์ ท่ามกลางสรรพสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ในธรรมชาติ ธรรมชาติของมนุษย์คือ มูลเหตุให้เกิดมี ‘วัฒนธรรม’ ทั้งวัฒนธรรมคติธรรมและวัฒนธรรม วัตถุธรรม เช่น เครื่องมือเครื่องใช้สอย รวมถึงบรรดาปัจจัยเครื่อง ยังชีพ และปัจจัยเครื่อง เสริมชีพ ในรูปแบบและชนิดต่าง ๆ มากมายหลากหลาย ที่มนุษย์อาศัยวัฒนธรรมคติธรรม เป็นพลังประดิษฐ์ สร้างสรรค์และปรุงแต่งขึ้นจากทรัพยากรธรรมชาติมาสนองความจ� ำเป็นและความอยากอันหาที่สุดมิได้นี้ ของมนุษย์ขับเคลื่อนโดยพลังคุณค่าทางคติธรรมนี้-ความรู้สึก นึกคิด จิตใจ ความเชื่อ สติปัญญา และ ความคิดความเห็น ก� ำหนด ครอบง� ำ ก� ำกับ น� ำพา และประเมินวินิจฉัย การประกอบกรรมหรือพฤติกรรม ของมนุษย์อีกต่อหนึ่ง ท� ำให้ชีวิตมนุษย์ซึ่งเป็นเพียงชนิดหนึ่งของบรรดาสรรพชีวิตในธรรมชาติ มีศักยภาพ ความสามารถและพลานุภาพในการค้นหา เข้าถึง เลือกเฟ้น แปรเปลี่ยน ประดิษฐ์ ดัดแปลง ปรุงแต่ง และใช้ ซึ่งทรัพยากรธรรมชาติใต้น�้ ำ บนน�้ ำ ใต้ดิน บนดิน และอากาศ ได้มากและพิศดารกว่าสัตว์ชนิดอื่น ทั้งยัง อาศัยวัฒนธรรมที่ตนสร้างสรรค์ขึ้นและสะสมไว้นี้ ปรุงแต่งชีวิตที่นิยมเรียกกันว่า “พัฒนา” ซึ่งวิถีชีวิต ด้านต่าง ๆ เรื่อยมาแต่อดีตถึงปัจจุบันสู่อนาคต วัฒนธรรมทั้ง ๒ มิติที่เป็น ทวิภาคี นี้สัมพันธ์กันด� ำเนินไป แนวพลวัตวัฏจักร เป็นเหตุเป็นผลของกันและกัน ซึ่งมนุษย์ไม่อาจระบุแน่นอนลงไปได้ว่าอะไรก่อนอะไรหลัง เพราะชีวิตความเป็นมนุษย์นี้นอกจากองค์ประกอบทาง ร่างกาย อันเป็นรูปธรรมแล้ว ยังมีองค์ประกอบ ทาง จิตใจ หรือจิตวิญญาณอันเป็นนามธรรมที่นิยมกล่าวว่า ชีวิตจิตใจ ถือเป็นองค์ประกอบทรงคุณค่ายิ่ง-ยิ่ง กว่าทางร่างกาย ดังค� ำภาษิตกล่าวไว้ในวัฒนธรรมไทยว่า ‘อันว่ามนุษย์เรานี้ ใจเป็นนายกายเป็นบ่าว...’

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=