สำนักงานราชบัณฑิตยสภา
297 พรชั ย ชุนหจิ นดา วารสารราชบัณฑิตยสภา ปีที่ ๔๑ ฉบับที่ ๒ เม.ย.-มิ.ย. ๒๕๕๙ ของตัวแปรต่าง ๆ ตามที่แสดงไว้ในตารางที่ ๗ ทั้งนี้ การทดสอบสมการถดถอยจะแยกท� ำเป็นรายประเทศ จนครบทั้ง ๖ ประเทศ เพื่อหาปัจจัยที่ก� ำหนดเงินลงทุนโดยตรงไหลเข้ารายประเทศนั้น ๆ จากนั้นจะท� ำการ ทดสอบสมการถดถอยแบบรวม ๕ ประเทศ (ไม่รวมสิงคโปร์) และแบบรวม ๖ ประเทศ (รวมสิงคโปร์) เพื่อหาปัจจัยร่วมที่ก� ำหนดเงินลงทุนโดยตรงไหลเข้ากลุ่มประเทศอาเซียนชั้นน� ำทั้ง ๕ และ ๖ ประเทศนั้น ตารางที่ ๗ ตัวแปรต้นและตัวแปรตามที่ใช้ในการทดสอบสมการถดถอยก� ำลังสองน้อยที่สุดและทิศทาง ความสัมพันธ์ตามข้อสมมุติฐาน Variable Measurement Dependent variable: FDI: thratio of net foreign investment inflows Foreign direct investment to the GDP Independent variables: 1. Market size CDPG: annual CDP growth rate + 2. FDI substitute CAP: gross capital formation, or gross domestic - investment 3. Cost UNEMP: the percentage of unemployment to + total labor foree 4. Infrastructure TELE: the number of fixed telephone + subseriptions per 100 people 5. Exchange risk FXRISK: the annual percentage movement of - the official exchange rate Expected effect on FDI ๔.๓ ผลการศึกษาในเชิงประจักษ์ ๔ ผลการทดสอบสมการถดถอยก� ำลังสองน้อยที่สุดพบว่า ตัวแปรต้นที่ ๑ คือ อัตราการ ขยายตัวของจีดีพี (GDPG) ไม่มีนัยส� ำคัญต่อเงินลงทุนโดยตรงไหลเข้าแยกเป็นรายประเทศ แต่กลับมี ความสัมพันธ์ทางบวก อย่างมีนัยส� ำคัญเมื่อทดสอบแบบรวมทั้ง ๕ และ ๖ ประเทศ ซึ่งสอดคล้องกับ ๔ รายละเอียดของผลการศึกษาทั้งแบบแยกรายประเทศและแบบรวมกลุ่มประเทศไม่ได้แสดงไว้ในบทความนี้ เพื่อความกระชับและประหยัด พื้นที่ แต่ผู้สนใจสามารถติดต่อขอรายละเอียดเพิ่มเติมได้จากผู้ท� ำวิจัย
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=