สำนักงานราชบัณฑิตยสภา
สมหวั ง พิ ธิ ยานุวั ฒน์ และจิ ราทั ศน์ รั ตนมณี ฉั ตร 269 วารสารราชบัณฑิตยสภา ปีที่ ๔๑ ฉบับที่ ๒ เม.ย.-มิ.ย. ๒๕๕๙ การเตรียมความพร้อมในการก้าวเข้าสู่ศตวรรษที่ ๒๑ สืบเนื่องมาจากโลกาภิวัตน์ การเปลี่ยนแปลงของประชากร และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นักเรียนของสิงคโปร์จ� ำเป็นที่จะต้องตระหนักถึงการเผชิญหน้ากับสิ่งท้าทายเหล่านี้ กระทรวงศึกษาธิการ สิงคโปร์จึงได้จัดท� ำคุณลักษณะที่ส� ำคัญในกระบวนการเรียนรู้และผลลัพธ์ของนักเรียนในศตวรรษที่ ๒๑ ภายใต้ยุทธศาสตร์ “ตึง ผ่อน ตึง” (Tight, Loose, Tight Approach) ซึ่งหมายความถึง ๑) ตึง คือ การก� ำหนดปรัชญาการศึกษาที่ชัดเจน มีกรอบยุทธศาสตร์และทิศทางที่จับต้องได้ ๒) ผ่อน คือ การสร้าง ความยืดหยุ่น ให้อิสระแก่ผู้สอนในการปรับกลยุทธ์กระบวนการเรียนการสอน มีแบบแผนการเรียนที่ หลากหลายเพื่อพัฒนาผู้เรียนได้ตามแต่ความถนัดของแต่ละบุคคล ๓) ตึง คือ การวางกรอบมาตรฐาน ของผลลัพธ์ และรับผิดชอบต่อผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น เมื่อผนวกกับแนวคิดการเรียนรู้แบบองค์รวมจึงก่อให้เกิด คุณลักษณะของกระบวนการเรียนรู้ และผลลัพธ์ของผู้เรียนในศตวรรษที่ ๒๑ ภายใต้วิสัยทัศน์มีรากฐานที่มั่นคงสู่การเรียนรู้เพื่ออนาคต (Strong Fundamentals, Future Learning) ที่มีหลักการส� ำคัญ ดังนี้ ๑. การวางนโยบายแบบมองไปข้างหน้า (Future Orientation) ด้วยการจัดการทบทวน หลักสูตรและกระบวนการเรียนการสอนอย่างสม�่ ำเสมอ น� ำการวิจัยและนวัตกรรมที่ส� ำคัญมาผนวกเข้ากับ บทเรียน เพื่อให้ผู้เรียนมีความทันสมัย ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก ๒. การจัดหลักสูตรแบบกว้างและบูรณาการ (Broad-based Curriculum) ที่มีเป้าหมาย เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนเป็นรายบุคคลได้อย่างเต็มที่ ค้นพบความถนัดเชี่ยวชาญของตน และ ที่มา : Ministry of Education, Singapore แผนภาพที่ ๒ แบบจ� ำลองโรงเรียนดีเยี่ยม
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=