สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

สมเด็ จพระเจ้าตากสิ นมหาราชกั บจั กรพรรดิ เฉี ยนหลงในความสั มพั นธ์ไทย-จี น 142 The Journal of the Royal Society of Thailand Vol. 41 No. 2 April-June 2016 เฉียนหลงเป็นจักรพรรดิที่ยิ่งใหญ่ของราชวงศ์ชิง ท� ำให้ราชวงศ์ชิงขึ้นสู่ความรุ่งเรืองสูงสุด ทั้งอ� ำนาจและความมั่นคง ทรงเชี่ยวชาญทั้งการทหาร การปกครองและอักษรศาสตร์ สมัยของพระองค์ เขตแดนจีนขยายเป็น ๒ เท่า จากการสงคราม ๑๐ ครั้ง ดังตารางต่อไปนี้ สงคราม ๑๐ ครั้ง สมัยจักรพรรดิเฉียนหลง จักรพรรดิเฉียนหลง จักรพรรดิเฉียนหลงในชุดนักรบ ๑ ๑๗๔๗, ๑๗๔๙/(๒๒๙๐, ๒๒๙๒) ปราบชนพื้นเมืองเชื้อสายทิเบตที่จินฉวน ในมณฑลซื่อชวน (เสฉวน) และหยุนหนาน (ยูนนาน) ๒ ๑๗๕๕/(๒๒๙๘) ปราบพวกซุงการ์ในทางเหนือซินเจียง ๓ ๑๗๕๖-๑๗๕๗/(๒๒๙๙-๒๓๑๐) ปราบพวกซุงการ์ในทางเหนือซินเจียง ๔ ๑๗๕๘-๑๗๕๙/(๒๓๐๑-๒๓๐๒) ปราบพวกหุยในทางใต้ของซินเจียง (สงครามครั้งที่ ๒, ๓, ๔ ท� ำให้ พรมแดนของจีนขยายไปทางตะวันตก ต่อมาตั้งเป็นมณฑลซินเจียง) ๕ ๑๗๖๖-๑๗๗๐/(๒๓๐๙-๒๓๑๓) ท� ำสงครามกับพม่าทางเหนือของพม่า พม่าต้องยอมเป็นไมตรีกับจีน (ส่งจิ้มก้อง) ๖ ๑๗๗๑-๑๗๗๖/(๒๓๑๔-๒๓๑๙) ปราบชนพื้นเมืองที่จินฉวน ๗ ๑๗๘๗-๑๗๘๘/(๒๓๓๐-๒๓๓๑) ปราบกบฏที่ไต้หวัน ๘ ๑๗๘๘-๑๗๘๙/(๒๓๓๑-๒๓๓๒) สงครามกับเวียดนาม เวียดนามต้องยอมรับอ� ำนาจของจีน (ส่งจิ้มก้อง) ๙, ๑๐ ระหว่าง ๑๗๙๐-๑๗๙๒ สงครามกับพวกกูรข่าในเนปาล๒ครั้ง เนปาลต้องยอมส่งจิ้มก้องให้จีน (๒๓๓๓-๒๓๓๕) ครั้งที่ ปี ค.ศ./(พ.ศ.) การสงคราม ที่มา : Immanuel C.Y. Hsu, The Rise of Modern China , Fourth Edition, 1990, p. 40 และ John E. Wills, Jr. Mountain of Fame: Portraits in Chinese History , 1994, pp. 245 – 252.

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=