สำนักงานราชบัณฑิตยสภา
121 ชาย โพธิ สิ ตา วารสารราชบัณฑิตยสภา ปีที่ ๔๑ ฉบับที่ ๒ เม.ย.-มิ.ย. ๒๕๕๙ ในตารางที่ ๑ มีประเทศในเอเชียเพียงประเทศเดียวเท่านั้น คือ ญี่ปุ่น ซึ่งมีสัดส่วน ครัวเรือนคนเดียวถึงเกือบ ๑ ใน ๓ ของครัวเรือนทั้งหมด นี่อาจไม่ใช่เรื่องแปลก เนื่องจากญี่ปุ่นมีระดับ การพัฒนาทางเศรษฐกิจเท่ากับหรือสูงกว่าประเทศที่พัฒนาทางอุตสาหกรรมในยุโรปและอเมริกา หลายประเทศ แต่ประเด็นที่น่าสังเกต คือ ระบบครอบครัวที่เข้มแข็งของญี่ปุ่นซึ่งได้รับอิทธิพลมาจาก ลัทธิขงจื๊อของจีน บวกกับอิทธิพลของความเชื่อแบบชินโตที่มีอยู่เดิมในท้องถิ่นดูเหมือนก� ำลังจะเปลี่ยนไป อาจจะเป็นเพราะพลังของการเป็นสังคมอุตสาหกรรมและระบบสวัสดิการสังคมที่เข้มแข็งขึ้น ท� ำให้การอยู่ คนเดียวเป็นเรื่องที่เป็นไปได้มากขึ้นก็เป็นได้ ตารางที่ ๑ : ร้อยละของครัวเรือนคนเดียวต่อครัวเรือนทั้งหมด ใน ๒๕ ประเทศที่มีสัดส่วนครัวเรือนคนเดียว สูงที่สุด เรียงตามล� ำดับจากสูงไปหาต�่ ำ พ.ศ. ๒๔๙๓-๒๕๕๓ ลำ �ดับที่ ประเทศ ๒๔๙๓ ๒๕๒๓ ๒๕๓๓ ๒๕๔๓ ๒๕๕๓ ๑ สวีเดน ๒๑ ๓๓ ๔๔ ๔๗ ๔๙ ๒ ฟินแลนด์ ๑๘ ๒๗ ๓๒ ๓๗ ๔๑ ๓ นอร์เวย์ ๑๕ ๒๘ ๓๔ ๓๘ ๔๐ ๔ เดนมาร์ก ๑๔ ๓๐ ๓๔ ๓๗ ๓๙ ๕ เยอรมนี ๑๒ ๓๐ ๓๕ ๓๖ ๓๙ ๖ สวิตเซอร์แลนด์ * ๒๙ ๓๕ ๓๖ ๓๙ ๗ เนเธอร์แลนด์ ๙ ๒๒ ๓๐ ๓๓ ๓๖ ๘ ออสเตรีย ๑๘ ๒๘ ๒๘ ๓๐ ๓๖ ๙ เอสโตเนีย * * * ๓๔ ๓๕ ๑๐ เบลเยียม ๑๖ ๒๓ ๒๘ ๓๑ ๓๔ ๑๑ ญี่ปุ่น ๕ ๒๐ ๒๔ ๒๘ ๓๑ ๑๒ ไอซ์แลนด์ ๑๘ * * * ๓๑ ๑๓ ฝรั่งเศส ๑๙ ๒๕ ๒๖ ๓๑ ๓๐ ๑๔ สโลวาเกีย * ๒๐ ๒๒ ๓๐ * ๑๕ สหราชอาณาจักร ๑๑ ๒๒ ๒๗ ๒๙ ๒๙ ๑๖ ลักเซมเบิร์ก ๙ ๒๑ ๒๖ ๒๙ *
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=