สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

The Journal of the Royal Society of Thailand Vol. 41 No. 3 July-September 2016 62 รูปที่ ๑ แผนภาพแสดงส่วนหนึ่งของโครงสร้างยางธรรมชาติหลังจากผ่านกระบวนการวัลคะไนเซชัน รูปที่ ๒ เซอร์อะเล็กซานเดอร์ เฟลมิง (Sir Alexander Fleming) ผู้ค้นพบสารปฏิชีวนะเพนิซิลลิน หลังจากกลับมา เฟลมิงสังเกตว่ามีจานเพาะเชื้อ ๑ ใบเกิดปนเปื้อนด้วยเชื้อรา (fungus) โดยที่กลุ่ม Staphylococci ที่ห้อมล้อมรอบเชื้อราดังกล่าวถูกท� ำลายหายไป (รูปที่ ๓) ในขณะที่กลุ่มอื่นที่ห่างออกไป เชื้อรายังเจริญงอกงามตามปรกติ ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นและพบเห็นโดยบังเอิญนี้น� ำไปสู่การสกัดสาร ปฏิชีวนะชนิดแรกของโลกจากเชื้อราดังกล่าว การค้นพบโดยบังเอิญกับการค้นพบสิ่งส� ำคัญยิ่งใหญ่ทางวิทยาศาสตร์

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=