สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

The Journal of the Royal Society of Thailand Vol. 41 No. 3 July-September 2016 52 เม็ดของแข็งที่ลอยตามฟองอากาศมาด้วย (เป็นบริเวณที่เรียกว่า หางฟอง หรือ wake) ก็กระเด็นตามฟอง ที่แตกขึ้นมาแล้วไปเกาะติดบนผนัง [รูปที่ ๒ (d)] พอลิเมอร์มีสมบัติเป็นฉนวนความร้อนและฉนวนไฟฟ้าที่ดี เมื่อที่ผิวเกิดประจุไฟฟ้าขึ้น ประจุไฟฟ้า เหล่านั้นจะสะสมอยู่เป็นจ� ำนวนมากแล้วแสดงสมบัติทางไฟฟ้าได้ สังเกตได้ว่าเม็ดพอลิเมอร์เกาะติดผนัง ในฟลูอิไดซ์เบดเป็นจ� ำนวนมากก็เนื่องจากพลังงานไฟฟ้านั่นเอง บาร์ทิลักซิและคณะ ( Bartilucci et al. , 2002 ) ได้รายงานถึงขนาดของกระแสไฟฟ้าที่เกิดขึ้นจากการทดลองว่ามีขนาด ๐.๑ ถึง ๑๐ ไมโครแอมแปร์ ต่อตารางเมตรของพื้นที่ของเครื่องปฏิกรณ์ การทดลองนี้ที่ความสูงของเบดเริ่มต้นสูง ๑๕ เซนติเมตร เมื่อท� ำให้เบดอยู่ในภาวะฟลูอิไดเซชันแล้ว สามารถวัดปริมาณไฟฟ้าที่เกิดขึ้นได้ถึง ๔๔ ไมโครแอมแปร์ ต่อตารางเมตรของพื้นที่ของเครื่องปฏิกรณ์ ด้วยเทคนิคที่ได้พัฒนาขึ้นนี้ค่ากระแสไฟฟ้าที่วัดได้มีความ แม่นย� ำสูง รูปที่ ๘ ค่าของกระแสไฟฟ้าที่เกิดขึ้นในเบดพอลิโพรพิลีนขนาด ๘๔๑ μm ปริมาณการป้อนอากาศ ๑๖๐ m 3 /h อุณหภูมิของอากาศ ๓๒๘ K การเกิดประจุไฟฟ้าสถิตบนเม็ดพอลิโพรพิลีนในฟลูอิไดซ์เบด

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=