สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

วารสารราชบัณฑิตยสภา ปีที่ ๔๑ ฉบับที่ ๓ ก.ค.-ก.ย. ๒๕๕๙ 45 สมศักดิ์ ด� ำรงค์เลิศ, ดีมิตรี จีดาสเปอว, ปียะวรรณ ติยะไพบูนชัย เริ่มแรกจะเกิดฟองอากาศขนาดเล็กเหนือแผ่นกระจายอากาศเล็กน้อย ฟองมีขนาดใหญ่มากขึ้นเมื่อลอย สูงขึ้นและรวมตัวกันเป็นฟองใหญ่ทางด้านบนของเบดดังแสดงในรูปที่ 2a การทดลองผ่านไปได้ ๑๐ นาที ก็เริ่มมีเม็ดพอลิโพรพิลีนเกาะติดที่ผนังภายในเบด จากนั้นเม็ดพอลิโพรพิลีนเกาะติดที่ผนังภายในเบด และที่เหนือเบดมากขึ้นและหนาขึ้นเมื่อการทดลองผ่านไป ๓๐ นาที ดังในรูปที่ 2b และ 2c แสดงว่า มีประจุไฟฟ้าสถิตเกิดขึ้นบนผิวของเม็ดพอลิโพรพิลีน ทั้งนี้เป็นเพราะฟองอากาศที่เกิดขึ้นในเบดท� ำให้ เม็ดพอลิโพรพิลีนผสมกันอย่างรุนแรง มีการสัมผัสระหว่างเม็ดของแข็งกับเม็ดของแข็ง เกิดแรงเสียดทาน ระหว่างอากาศกับเม็ดของแข็ง รูปที่ ๒ การเกิดฟองและเกิดไฟฟ้าสถิตในเบด แรงกระแทกระหว่างเม็ดของแข็งกับเม็ดของแข็ง ส� ำหรับวัสดุไม่น� ำไฟฟ้าเมื่อมาใช้เป็นเบด ประจุไฟฟ้าที่เกิดจะสะสมอยู่ที่ผิวของเม็ดวัสดุนั้น ดังเช่นวัสดุนั้นเป็นพอลิโพรพิลีน เม็ดพลาสติกก็จะจัดตัว เป็นก้อนใหญ่เมื่อความต่างศักย์ไฟฟ้าถึงจุดวิกฤต ที่เป็นเช่นนี้เพราะว่าแรงของประจุไฟฟ้าและแรงจากสนาม

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=